Page 82 - kpi20488
P. 82

สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข  81






                       7) แสดงบทบ�ทเป็นเจ้�หน้�ที่ตำ�รวจ เช่น บทบ�ทในก�รติดต�ม
                 คว�มไม่ถูกต้องในสังคม และแจ้งให้คนในสังคมได้รับรู้
                       8) บทบ�ทในก�รพัฒน�ศักยภ�พของคนในสังคม ทำ�อย่�งไรจึงจะ
                 ทำ�ให้สื่อเป็นเสมือนห้องเรียนของสังคมที่มีคุณภ�พ


                       ขณะเดียวกัน ในสถ�นก�รณ์คว�มขัดแย้งและวิกฤตก�รณ์ในสังคม
                 สื่อมวลชนยิ่งมีบทบ�ทหน้�ที่ที่สำ�คัญ โดยร�ยง�นก�รศึกษ� “เสรีภ�พและ
                 คว�มรับผิดชอบของสื่อ” (โครงก�รศึกษ�เฝ้�ระวังสื่อ และพัฒน�ก�รรู้เท่�ทัน
                 สื่อเพื่อสุขภ�วะของสังคม (Media Monitor), 2553) ได้กล่�วถึงบทบ�ท

                 คว�มรับผิดชอบของสื่อมวลชนไว้ดังนี้
                       1) บทบ�ทคว�มรับผิดชอบของสื่อมวลชนท่�มกล�งสถ�นก�รณ์
                 คว�มขัดแย้งท�งสังคม รับผิดชอบต่อส�ธ�รณะในฐ�นะองคกร์ที่รักษ�
                 คว�มเป็นกล�ง สื่อต้องทำ�ตนเองให้เป็นกล�ง คว�มเป็นกล�งต้องอยู่ฝั่งคนดี
                 คนมีคุณภ�พ คุณธรรม (แม้จะด้อยปริม�ณ) นั่นคืออยู่ในฝั่งของศีลธรรม
                 ต้อง “เปิดองศ�ใจ” ให้กว้�ง เพื่อรองรับกระแสใจของประช�ชน มวลของ
                 โมหะจริตของผู้คน และพลังอำ�น�จของเจ้�หน้�ที่รัฐที่ไม่ชอบธรรม ให้ก�รศึกษ�
                 คว�มรู้ (Education) เพื่อสร้�งกระบวนทัศน์ใหม่ (Postmodern Paradigm)
                 ให้แก่คนรุ่นใหม่

                       2) เสนอบรรทัดฐ�นใหม่ในก�รกำ�หนดขอบเขตเสรีภ�พในก�รกระจ�ย
                 ข่�วส�รของสื่อ ในท่�มกล�งวิกฤติของสังคม และเศรษฐกิจ เพื่อเตือนและห�
                 ท�งออกให้สังคมพ้นจ�กภัยอันตร�ย

                       ทั้งนี้องค์กรวิช�ชีพสื่อ ได้จัดทำ�กรอบจริยธรรมและจรรย�บรรณของ
                 หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ และสื่อสังคมที่สอดคล้องกับจรรย�บรรณสื่อส�ร
                 มวลชนส�กล ดังนี้
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87