Page 89 - kpi20488
P. 89

88  สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข






                   ทั้งนี้ แนวปฏิบัติสำ�หรับก�รนำ�เสนอเนื้อห�ส�ระของสื่อในสถ�นก�รณ์
             ปกติ และในสถ�นก�รณ์คว�มขัดแย้ง มีคว�มแตกต่�งกันดังร�ยละเอียด
             ต่อไปนี้

                   1)  การนำาเสนอเนื้อหาสารในสถานการณ์ปกติ เพื่อนำาไป
             สู่การส่งเสริมสังคมประชาธิปไตย
                   Bennett (2005, อ้�งถึงในโครงก�รศึกษ�เฝ้�ระวังสื่อและพัฒน�ก�รรู้

             เท่�ทันสื่อ เพื่อสุขภ�วะของสังคม, 2553) เสนอว่�บทคว�ม/ข่�วที่พึงปร�รถน�
             ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้
                   1) ประเด็นข่�วที่สื่อแต่ละร�ยนำ�เสนอขึ้นอย่�งอิสระ ซึ่งจะช่วยสร้�ง
             บรรย�ก�ศข้อมูลข่�วส�รที่หล�กหล�ย
                   2) นำ�เสนอมุมมองที่หล�กหล�ยเพื่อลดช่องว่�งระหว่�งประช�ชน
             ทั่วไป และนักก�รเมืองและผู้ที่คร่ำ�หวอดในแวดวงก�รเมือง
                   3) บทวิเคร�ะห์เบื้องหลังคว�มเคลื่อนไหวท�งก�รเมือง ซึ่งจะช่วยให้
             ประช�ชนเข้�ใจที่ม�ของก�รตัดสินใจท�งก�รเมือง และเข้�ใจว่�พวกเข�
             เกี่ยวข้องกับเหตุก�รณ์เหล่�นั้นอย่�งไร
                   4) บริบทท�งประวัติศ�สตร์ที่จะช่วยอธิบ�ยต้นตอของปัญห�ในข่�ว
             และจำ�กัดบทบ�ทของนักก�รเมืองในก�รบิดเบือนประวัติศ�สตร์เพื่อใช้สนอง

             ผลประโยชน์ส่วนตัว
                   5) ข่�วเกี่ยวกับนักเคลื่อนไหวท�งก�รเมืองภ�คพลเมือง ซึ่งจะช่วยให้
             ประช�ชนทั่วไปส�ม�รถวิพ�กษ์วิจ�รณ์คว�มเคลื่อนไหวของฝ่�ยรัฐได้
                   6) ภ�พลักษณ์เชิงบวกของพลเมืองที่ตื่นตัวจะช่วยกระตุ้นประช�ชน
             ให้เข้�ม�มีส่วนร่วมในกรณีคว�มขัดแย้งท�งก�รเมืองที่พบในข่�วได้
                   7) ก�รใช้เทคโนโลยีที่ส�ม�รถโต้ตอบได้อย่�งมีประสิทธิภ�พม�กขึ้น
             จะช่วยเชื่อมโยงกลุ่มผู้รับข่�วส�รเข้�ด้วยกัน  และเชื่อมโยงกับองค์กร
             ภ�คประช�สังคมเพื่อเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประเด็นต่�งๆ และนำ�ไปสู่
             ก�รเคลื่อนไหวอย่�งมีประสิทธิภ�พ
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94