Page 54 - kpi20431
P. 54

ก่อนวันจัดงานขายได้ไม่ถึงเป้า แต่พอถึงวันจัดงานทำาไม่พอขาย) รวมกับ
               ภาคประชาชนอีกส่วนหนึ่ง แม่ค้าที่ร่วมงาน วิ่งเข้าหาภาคประชาชน เอกชน

               ทุกภาคส่วน ได้มาส่วนละเล็กละน้อย

                       การจัดงานครั้งแรกไม่เน้นป้ายประชาสัมพันธ์ แต่มีคนมาร่วมงาน

               จำานวนมาก ทั้งคนสุราษฎร์ รวมถึงคนจังหวัดอื่น ๆ และกทม. ดูยิ่งใหญ่กว่า
               หลายงานประเพณีอื่น ๆ ที่เคยจัดในสุราษฎร์ธานี เป็นความภาคภูมิใจมาก ๆ

               โดยนายเฉลิมพลให้ข้อสังเกตผลว่า “ภาคประชาชนเวลาจัดงานใหญ่ๆ มัน
               ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายสำาหรับเค้า เพราะการจัดงานใหญ่ๆ แบบนั้น ไหนจะต้อง

               วางแผนงาน หางบประมาณ หาคนทำางาน รับผิดชอบสารพัด ที่หนักคือ
               การติดต่อประสานงาน ถ้าไม่มีเครือข่ายต่อให้อยากจัดก็ไม่ใช่ว่าจะจัดได้”


                       ในส่วนพื้นที่จัดงานนั้น ทางกลุ่มผู้จัดได้บังเอิญไปเจอกลุ่มคน

               ท่าชนะ ทำาธุรกิจท่องเที่ยว และเป็นนายก อบต. ที่ชื่นชอบว่าว ได้เคย
               ติดต่อไปแล้ว ก็เลยได้โทรศัพท์ไปปรึกษา ได้ข้อสรุปว่า ให้ไปจัดที่ท่าชนะให้
               ชาวบ้านได้ช่วยได้มากกว่า จึงได้จัดงานที่ท่าชนะ โดยต้องจัดในฤดูเล่นว่าว

               ซึ่งมีอยู่แค่ 3 เดือนเท่านั้นคือ (ม.ค. ก.พ. มี.ค.) พอตกลงปลงใจแล้วว่า

               ยังไงก็จะทำา ก็ประชุมคิดร่วมกันทำายังไงที่จะทำาให้เกิดที่ท่าชนะโดยประกาศ
               ต่อหน้าพี่น้องชาวบ้านว่า ถ้าไม่สามารถจัดมหกรรมว่าวนานาชาติครั้งนี้ได้
               สำาเร็จ ก็จะไม่มีความพยายามที่จะจัดงานนี้กันอีกแล้ว จึงเป็นแรงผลักดัน

               ให้ชาวท่าชนะเข้ามามีส่วนร่วมผลักดันให้เกิดมหกรรมว่าวนานาชาติขึ้น

               จนเป็นผลสำาเร็จ











                                                  เรื่องเด่นอยากเล่า 4 ( People’s Audit )  53
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59