Page 50 - kpi20431
P. 50

ภายหลังจากจบการศึกษาไม่นาน นายกองค์การบริหารส่วน
               จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้เข้าร่วมงานโชว์ของดีประจำาจังหวัดสุราษฎร์ธานี

               ที่เกาะสมุย โดยพบว่าอำาเภอเคียนซาได้นำาว่าวไปจัดการแสดง ท่านนายกฯ
               พบว่าเป็นสิ่งที่น่าสนใจ จึงได้มีความเห็นว่าเรื่องวัฒนธรรมที่มีในพื้นที่มี

               อยู่มากน่าสนใจหากนำามาพัฒนาต่อและขยายผลในระดับจังหวัดเพื่อเป็น
               การอนุรักษณ์วัฒนธรรมและส่งเสริมการท่องเที่ยวไปในคราวเดียวกัน

               จึงมอบหมายให้นายเฉลิมพล รับผิดชอบในการดำาเนินงานจัดทำาโครงการ
               ดังกล่าว เนื่องจากเห็นความสามารถและเพิ่งสำาเร็จการศึกษาหลักสูตรการ

               ให้บริการสาธารณะโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน (People’s Audit)
               รุ่นที่ 20 กลับมาพอดี จึงคิดที่จะนำาเทคนิคสร้างการมีส่วนร่วมที่ไปเรียน

               มาใช้ประโยชน์ในการดำาเนินโครงการนี้

                        ขั้นตอนการด�าเนินงาน


                        เริ่มต้นด้วยการศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับงานว่าวโดยนายเฉลิม
               พล ได้ค้นคว้าหาความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาเรื่องว่าวในจังหวัดและเขตใกล้

               เคียง จนค้นพบทุนทางวัฒนธรรมของสุราษฎร์ธานี ที่มีปราชญ์ชาวบ้าน ที่

               คลุกคลีเรื่องดังกล่าวมากว่า 20 ปี และอยากเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรม
               ไปสู่เยาวชนคนรุ่นใหม่อยากเปลี่ยนสังคมก้มหน้าให้เป็นสังคมเงยหน้ามอง
               มรดกทางวัฒนธรรมที่มีมาตั้งแต่ปู่ย่า ตายาย นั่นคือ ชมรมว่าวของ อ.เคียน

               ซา จึงได้เริ่มต้นด้วยการเชิญประธานชมรมว่าวของ อ.เคียนซา นายอาทร

               ย้อยญาติ มาหารือแนวทางการทำางานร่วมกันที่องค์การบริหารส่วนจังหวัด
               โดยพบว่าชมรมว่าวไทยสุราษฎร์ธานี ชมรมว่าวสุราษฎร์ธานี เริ่มก่อตั้งขึ้น
               เมื่อ พ.ศ. 2520 โดยนายเพียร ย้อยญาติ โดยใช้ชื่อว่า ชมรมอนุรักษ์

               ว่าวไทยบ้านคลองจัน มีที่ทำาการอยู่ที่ 107/1 ม.4 ต.เขาตอก อ.เคียนซา




                                                  เรื่องเด่นอยากเล่า 4 ( People’s Audit )  49
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55