Page 5 - kpi20366
P. 5
ผลการศึกษาในเบื้องต้นได้ตัวชี้วัดการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชนในสังคม
ประชาธิปไตย (ร่าง) จ านวน 14 ตัวชี้วัด ภายหลังการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ปรับปรุงแก้ไขเนื้อหา
ตัวชี้วัดและเพิ่มตัวชี้วัดใหม่ขึ้นอีก 11 ตัวชี้วัดตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ การศึกษาครั้งนี้จึงได้ชุด
ตัวชี้วัดทั้งสิ้นจ านวน 25 ตัวชี้วัด ซึ่งแบ่งตัวชี้วัดออกเป็นสองกลุ่มหลักคือ การรับข้อมูลเข้า จ านวน 8
ตัวชี้วัด และการส่งข้อมูลออก จ านวน 17 ตัวชี้วัด โดยตัวชี้วัดเกี่ยวกับ “การรับข้อมูลเข้า” ประกอบด้วย
การมีทักษะในการสื่อสาร ได้แก่ การเข้าถึงเป็น (Access) การวิเคราะห์และประเมินเป็น (Analyze and
Evaluate) และการรู้สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบตามกฎหมาย ส่วนตัวชี้วัดเกี่ยวกับ “การส่งข้อมูล
ออก” ประกอบด้วย การมีทักษะในการสื่อสารและผลิตสื่อ (Create) การตระหนักในบรรทัดฐานพลเมือง
คือสามารถมีส่วนร่วมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์ (Participate) และการรู้สิทธิ หน้าที่
และความรับผิดชอบตามกฎหมาย ตามล าดับ
งานวิจัยชิ้นนี้ได้ด าเนินการจัดท าแบบทดสอบเพื่อเป็นเครื่องมือส าหรับวัดการรู้เท่าทันสื่อสังคม
ออนไลน์ของเยาวชนในการวิจัยครั้งต่อไป โดยแบบทดสอบที่จัดท าขึ้น ใช้รูปแบบข้อสอบปรนัยแบบ 4
ตัวเลือก จ านวนทั้งหมด 26 ข้อ ข้อสอบแต่ละข้อวัดการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชนในด้าน
ต่างๆ ที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้น เช่น การวัดการรู้เท่าทันสื่อด้านการโต้แย้งโดยใช้หลักเหตุผล
และเคารพความคิดที่เห็นต่าง การวัดด้านการวิเคราะห์และตีความความหมายของข้อมูล การวัดด้านการ
ผลิตสื่ออย่างสร้างสรรค์ที่ไม่น าไปสู่การสร้างความแตกแยกของคนในชาติ การวัดด้านการใช้ภาษาแบบ
สันติวิธีที่ไม่น าไปสู่การยั่วยุ ปลุกปั่น เป็นต้น โดยในอนาคตสถานศึกษาต่างๆ สามารถน าตัวชี้วัดและ
แบบทดสอบการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชนเพื่อการเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยที่
โครงการฯ พัฒนาขึ้นไปใช้ประเมินระดับการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของนักเรียนมัธยมปลายและนิสิต
นักศึกษาในระดับอุดมศึกษา และให้ความรู้เพิ่มเติมแก่นักเรียนและนักศึกษารู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์
ของนักเรียนนักศึกษาอยู่ในระดับต ่าได้
โดยสรุปการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ (social media literacy) เป็นทักษะที่มีความส าคัญอย่าง
ยิ่งต่อเด็กและเยาวชน อีกทั้งการรู้เท่าทันสื่อยังเป็นทักษะที่มีความเกี่ยวข้องกับการสร้างพลเมืองที่
เข้มแข็งในสังคมประชาธิปไตยโดยตรง อย่างไรก็ตามในการส่งเสริมให้เกิดการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์
ในกลุ่มเด็กและเยาวชนจ าเป็นต้องบูรณาการความร่วมมือหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค
ประชาสังคม และประชาชน เพื่อสร้างความตระหนักหรือส านึกสาธารณะ (public awareness) ถึง
ผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อเยาวชนและสังคมในภาพรวม ทั้งนี้เพื่อสร้าง “ภูมิคุ้มกัน” ในการ
บริโภคสื่อให้กับเด็ก เยาวชน และนิสิตนักศึกษาที่บริโภคข้อมูลข่าวสารอย่างท่วมท้นผ่านสื่อสังคม
ออนไลน์ในแต่ละวัน โดยเฉพาะในยุคที่สื่อดิจิทัลเข้ามามีอิทธิพลและส่งผลต่อการรับรู้ ความเข้าใจ
ทัศนคติและพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน การพัฒนาชุดตัวชี้วัดการรู้เท่าทันสื่อจะเป็นเครื่องมือในการ
4