Page 50 - kpi19910
P. 50

40

























                      7. คัดค้านชลประทานขนาดใหญ่ “โครงการพัฒนาลุ่มน้ าตาปี–พุมดวง”

                      พื้นที่ : ต าบลบางงอน อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี


                      ประเภทความขัดแย้ง : ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (การบริหารจัดการน้ า)

                      ระดับการรับรู้ของสังคม :  ระดับชาติ มีการเผยแพร่ผ่านสื่อมากมาย ทั้งสื่อวิทยุ โทรทัศน์ ผ่าน

                      งานวิจัย

                      ประเด็นขัดแย้ง :

                             โครงการชลประชลประทานขนาดใหญ่ “โครงการพัฒนาลุ่มน้ าตาปี–พุมดวง” เป็นความ
                      ขัดแย้งระหว่างชาวบ้านที่ไม่ต้องการ เนื่องจากในพื้นที่ไม่คลาดแคลนน้ า แต่กรมชลประทานระบุ
                      โครงการนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการใช้น้ าทั้งระบบ ทั้งเกษตรกรรม อุปโภค-บริโภค


                      ความเป็นมา :
                               โครงการพัฒนาลุ่มน้ าตาปี-พุมดวง ที่ต าบลบางงอน อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี กรม

                      ชลประทาน ได้เริ่มต้นด าเนินการศึกษาส ารวจเพื่อวางแผนพัฒนาแหล่งน้ าในลุ่มน้ าตาปี-พุมดวง มา
                      ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 และต่อมาในปี พ.ศ. 2514 กรมชลประทานได้ว่าจ้าง บริษัท ELC-
                      Electroconsult จัดท าแผนพัฒนาลุ่มน้ าตาปี-พุมดวง ซึ่งประกอบด้วยแผนพัฒนาลุ่มน้ าคลองแสง
                      แผนพัฒนาลุ่มน้ าคลองยัน และแผนพัฒนาโครงการย่อยต่าง ๆ แนวทางการพัฒนาประกอบด้วย เขื่อน
                      เก็บกักน้ าขนาดใหญ่ 2 เขื่อน ได้แก่ เขื่อนรัชชประภา (เขื่อนเชี่ยวหลาน) และเขื่อนแก่งกรุง (เขื่อน

                      คลองยัน) ซึ่งการด าเนินโครงการต้องสะดุดหลังเกิดแรงต้านจากชาวบ้านจนน าไปสู่การยื่นฟ้องศาล
                      ปกครอง ให้มีค าสั่งยกเลิกโครงการ และศาลได้รับฟ้องไว้แล้ว ประชาชนไม่ต้องการโครงการดังกล่าว
                      เนื่องจากไม่มีความจ าเป็นในพื้นที่เลย เนื่องจากพื้นที่เกษตรกรรมประมาณ 90% เป็นสวนยางพารา

                      และสวนปาล์มน้ ามัน ไม่จ าเป็นต้องพึ่งระบบชลประทานขนาดใหญ่ เมื่อเดือนกรกฎาคม 2533
                      คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมชลประทาน ด าเนินการศึกษา
                      ข้อมูลเกี่ยวกับระบบชลประทาน โดยเฉพาะพื้นที่ชลประทานที่จะได้จากการก่อสร้างเขื่อนแก่งกรุงใน
                      จังหวัดสุราษฎร์ธานี จากนั้นกรมชลประทานได้จ้างบริษัทที่ปรึกษาศึกษาความเหมาะสม เสร็จสิ้นใน

                      เดือนธันวาคม 2537 พบว่า โครงการมีความเหมาะสมต่ า เนื่องจากจ าเป็นต้องอพยพราษฎรและต้อง
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55