Page 41 - kpi19910
P. 41

31






                      ให้เกิดความแตกแยกในชุมชน”และเมื่อวันที่ 9-10 กุมภาพันธ์ 2551  ที่ผ่านมา ชาวบ้านในพื้นที่หมู่ที่
                      13 ต าบลรับร่อ อ าเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร จัดเวทีสรุปบทเรียนการต่อสู้คัดค้านโครงการเขื่อนรับร่อ

                      ประสบความส าเร็จได้ยกเลิกโครงการ


                      คู่ขัดแย้งหลักและจุดยืน :
                               1. ชาวบ้านต าบลรับร่อ อ าเภอท่าแซะ ยืนยันให้ยกเลิกโครงการ
                               2. กรมชลประทาน ระบุเขื่อนช่วยแก้ไขปัญหาเรื่องน้ า


                      ผู้เกี่ยวข้องอื่น :
                               1. สมัชชาคนจน
                               2. ต ารวจ
                               3. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์


                      ระยะเวลา : มากกว่า 10 ปี (พ.ศ. 2536-2551)


                      สถานะ : ได้รับการแก้ไขแล้วโดยการยกเลิกโครงการ

                      พลวัต:
                               แผนจะสร้างเขื่อนรับร่อมีมาก่อนแล้ว มีการศึกษาผลกระทบพบว่า จะสร้างความเดือดร้อน
                      ให้กับชาวบ้านจ านวนมาก ชาวบ้านร่วมเคลื่อนไหวจนกระทั่งมีมติคณะรัฐมนตรีให้หยุดด าเนินการ
                      ใด ๆ  ไว้ก่อน หลังจากนั้นมติคณะรัฐมนตรีให้ยกเลิกสร้างเขื่อนรับร่อในปี 2551


                      ระดับความรุนแรง : ไม่มีความเสียหายทั้งต่อทรัพย์สินและร่างกาย


                      วิธีการแก้ไข :
                      กลยุทธ์ของการจัดการความขัดแย้งเพื่อแก้ไขปัญหา คือ
                               1 โดยหน่วยงานราชการต้องให้ข้อมูลที่ถูกต้องและชัดเจนแก่ชาวบ้านเพื่อสร้างความเข้าใจ

                               2. ถอดบทเรียนร่วมกันในการต่อสู้คัดค้านโครงการเขื่อนรับร่อจนประสบความส าเร็จ

                      ปัจจัยที่จะสนับสนุนเพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง คือ
                               1. การมีส่วนร่วมเพื่อร่วมตระหนักและแก้ไขปัญหาร่วมกันในพื้นที่

                               2. สิทธิชุมชนของประชาชนในพื้นที่ได้รับผลกระทบ

                      ผลกระทบที่เกิดขึ้น :
                               ส่งผลกระทบให้เกิดความแตกแยกในชุมชน  แกนน าถูกตรวจค้นจากเจ้าหน้าที่ต ารวจ

                      ที่มาของข้อมูล :
                               1. สัมภาษณ์ตัวแทนชาวบ้านในพื้นที่
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46