Page 38 - kpi19910
P. 38

28






                      ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยชี้แจงว่า จะน าเข้าถ่านหินจากประเทศอินโดนีเซียและออสเตรเลีย ป้อนเข้าสู่
                      โรงไฟฟ้าถ่านหินมีจ านวน 4 เครื่อง ขนาดก าลังผลิตเครื่องละ 700 เมกะวัตต์ รวมทั้งสิ้น 2,800 เมกะ

                      วัตต์ เมื่อชี้แจงประชาชนแล้วจึงเกิดการรวมตัวของประชาชนประมาณ 700 คน เดินทางไปยื่นหนังสือ
                      คัดค้านการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินดังกล่าวต่อนายอ าเภอปะทิว และผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพรใน
                      วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2551 โดยให้เหตุผลจากการที่พื้นที่เมื่อเกิดการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินอยู่ใกล้
                      กับอ่าวยายไอ๋ ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวนั้นเป็นพื้นที่จัดการท่องเที่ยวเพื่อใช้เป็นแหล่งด าน้ าชมปะการัง และที่

                      ส าคัญอย่างยิ่ง คือ การด ารงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ซึ่งเป็นพื้นที่ท ามาหากินของชาวประมงพื้นบ้าน
                      เมื่อเกิดการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินแล้วแน่นอนที่สุดว่าพื้นที่ดังกล่าวย่อมได้รับผลกระทบ และส่งผล
                      ต่อสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปปริมาณตะกอนจากกิจกรรมที่ด าเนินการบนฝั่งจะเกิดปัญหาตะกอนลง

                      น้ าทะเลชายฝั่ง มีผลกระทบต่อทั้งคุณภาพน้ า ปะการัง สัตว์น้ าวัยอ่อน สัตว์หน้าดิน และความสมบูรณ์
                      ของแหล่งน้ า การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ าชายฝั่งบางประการ หากการด าเนินการโดยไม่มีมาตรการ
                      จัดการป้องกันที่ดี หรือการด าเนินการเพื่อป้องกันความสกปรก การปนเปื้อน การชะล้างของน้ าจืดลง
                      ทะเล ตลอดจนขยะและคราบน้ ามันต่างๆ ก็จะส่งผลกระทบทั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยเฉพาะผู้
                      ประกอบอาชีพชาวประมงพื้นบ้านที่เป็นคนส่วนใหญ่ในพื้นที่คงไม่สามารถประกอบอาชีพการประมงได้

                      อีกต่อไป


                      คู่ขัดแย้งหลักและจุดยืน :
                               1. ประชาชนอ าเภอปะทิว อ าเภอละแม จังหวัดชุมพร ไม่ต้องการโรงไฟฟ้าถ่านหิน
                               2. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ต้องการให้สร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินเพื่อเป็นแหล่ง
                      พลังงานไฟฟ้าภาคใต้


                      ผู้เกี่ยวข้องอื่น :
                               1. ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร
                               2. องค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร

                               3. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
                               4. องค์การบริหารส่วนต าบลละแม

                      ระยะเวลา : มากกว่า 10 ปี (พ.ศ. 2551-2561)


                      สถานะ : เคยมีความพยายามในการแก้ไขแต่หยุดชะงักไป


                      พลวัต :
                               เกิดเหตุการณ์จากชาวบ้านไม่มีข้อมูลที่ชัดเจนในการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน จึงท าให้เกิดการ
                      รวมตัวคัดค้านโดยการยื่นหนังสือต่อนายอ าเภอ จัดให้มีเวทีชุมนุมสาธารณะเพื่อแสดออกในการ

                      เคลื่อนไหวคัดค้าน  ด้านการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยลงพื้นที่ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างกลุ่ม
                      มวลชนให้เห็นถึงประโยชน์จากโรงไฟฟ้าถ่านหิน


                      ระดับความรุนแรง : ไม่มีความเสียหายทั้งต่อทรัพย์สินและร่างกาย
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43