Page 126 - kpi19910
P. 126

116






                      ราไวย์ใช้สัญจรในการลงทะเล เพื่อท าการประมงและประกอบพิธีกรรมบาลัย (พิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์
                      ของชนเผ่า) แบบถาวร แต่ยังไม่สามารถตกลงกันได้ เนื่องจากฝ่ายเอกชนเป็นเพียงตัวแทนเข้าประชุม

                      ซึ่งไม่มีอ านาจตัดสินใจ ผู้ว่าราชการจังหวัดจึงสั่งให้เอกชนหยุดการก่อสร้างทั งหมดไว้ก่อน พร้อมทั งเปิด
                      เส้นทางให้ชาวบ้านสัญจรจนกว่าจะได้ข้อยุติ ที่จะมาหารือกันอีกครั งในวันอังคารหน้า ด้านชาวเล
                      อูรักลาโว้ย จากการบอกเล่าของ ไมตรี จงไกรจักร ผู้ประสานงานเครือข่ายชุมชนเพื่อการปฏิรูปสังคม
                      และการเมือง ก็ได้ขุดกระดูกบรรพบุรุษขึ นมาท าพิธีขอให้ปกป้องคุ้มครองลูกหลาน และเป็นการฟ้อง

                      บรรพบุรุษที่ถูกนายทุนรังแกด้วย ก่อนรวมตัวกันเดินทางไปยื่นหนังสือต่อส านักงานธนาคารกรุงเทพ
                      สาขาภูเก็ต เพราะหุ้นส่วนบริษัทบางคนมีคนนามสกุลใหญ่ของธนาคารแห่งนี ด้วย
                                ส าหรับความขัดแย้งในพื นที่นี มีมานานเกือบ 10 ปี หลังจากที่ บริษัท บารอน เวิลด์ เทรด

                      อ้างว่าได้รับเอกสารสิทธิในการพัฒนาที่ดินหน้าหาดราไวย์ ตั งแต่ปี 2550 และมีความพยายามผลักดัน
                      ชาวไทยใหม่ออกไปให้พ้นพื นที่ โดยมีการต่อสู้กันมาตลอด เพราะชาวไทยใหม่ยืนยันความเป็นชาวเล
                      ที่อยู่อาศัยที่นี่มานานตั งแต่รุ่นปู่ย่ากว่าร้อยปี เส้นทางเข้าออกที่ถูกปิดครั งนี เป็นเส้นทางเดียวของชาว
                      อูรักลาโว้ยที่จะไปออกทะเลหากิน เป็นเส้นทางไปสุสานบรรพบุรุษและประกอบพิธีลอยเรือ อีกทั งเป็น
                      เส้นทางที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเคยเสด็จประพาส เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2502 จึงท าให้ชาวไทย

                      ใหม่ยอมไม่ได้ ขณะที่บริษัทเอกชนอ้างว่าได้ผ่อนผันให้ชาวไทยใหม่ใช้พื นที่มานานแล้ว ถึงเวลาต้องเข้า
                      พัฒนาที่ดินโดยพยายามเข้ามาใช้พื นที่ และเกิดการปะทะกับชาวไทยใหม่ครั งแรกเมื่อกลางเดือน
                      ธันวาคมปีที่แล้ว ครั งที่ 2 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2559 ที่ผ่านมา

                                  อย่างไรก็ตาม ปัญหาความขัดแย้งในที่ดินท ากินของชาวเล ซึ่งเป็นชนเผ่าพื นเมืองดั งเดิมที่
                      อาศัยท ากินอยู่บริเวณทะเลอันดามันนานกว่า 300 ปีก็นับว่าน่าสนใจ ปัจจุบันมีอยู่จ านวน 43 ชุมชน
                      ใน 5 จังหวัด คือ ภูเก็ต พังงา สตูล กระบี่ และระนอง ประมาณ 12,250 คน โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ
                      มอแกน มอแกลน และอูรักลาโว้ย ซึ่งทุกกลุ่มมีวิถีชีวิต วัฒนธรรมและภาษาเป็นของตนเอง ส่วนการ

                      แก้ไขปัญหานั น เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2553 คณะรัฐมนตรี(ครม.) มีมติเห็นชอบแนวนโยบายในการ
                      ฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวเล โดยให้กระทรวงวัฒนธรรมรับผิดชอบและมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องน า
                      แผนไปปฏิบัติ ประกอบด้วย การสร้างความมั่นคงด้านที่อยู่อาศัย การประกอบอาชีพประมง การ
                      ช่วยเหลือด้านสาธารณสุข การส่งเสริมด้านการศึกษา การแก้ไขปัญหาอคติทางชาติพันธุ์ การส่งเสริม

                      ภาษาและวัฒนธรรม ฯลฯ
                               ตลอด 5 ปี ที่มีมติคณะรัฐมนตรี พี่น้องชาวเลได้มีการรวมตัวในพื นที่ของตนเองและเชื่อมโยง
                      เป็นเครือข่ายชาวเลทั ง 5 จังหวัด เพื่อแก้ปัญหาร่วมกันโดยการสนับสนุนขององค์กรพัฒนา นักวิชาการ
                      สื่อมวลชน มาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งรัฐบาลได้มีการแต่งตั งคณะกรรมการแก้ไขปัญหาที่ดิน

                      ที่ท ากินและพื นที่ทางจิตวิญญาณชาวเล โดยมี พล.อ.สุรินทร์ พิกุลทอง เป็นประธาน แต่การแก้ไข
                      ปัญหาก็ยังไม่บรรลุผล  นอกจากนี  จากการแก้ไขปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัยและที่ท ากิน ยังพบว่าชาวเล
                      จ านวน 31 แห่ง อาศัยอยู่บนที่ดินก่อนประกาศของรัฐ เช่น กรมเจ้าท่า ป่าสงวนอุทยานแห่งชาติ ซึ่ง

                      ปัจจุบันก าลังเป็นปัญหาที่ยังแก้ไม่แล้วเสร็จ รวมทั งยังอาศัยอยู่บนที่ดินที่ถูกฟ้องขับไล่โดยเอกชน
                      ถึง 7 แห่ง จ านวน 1,228 หลังคาเรือน โดยเฉพาะที่ภูเก็ต สนิท แซ่ซั่ว แกนน าชาวเลบ้านราไวย์ภูเก็ต
                      เล่าว่า ชาวเลอาศัยอยู่บนที่ดินกว่า 30 ไร่ที่หาดราไวย์มานับร้อยปีอยู่ ๆ ก็มีนายทุนมาฟ้องขับไล่ ตั งแต่
                      ปี 2552 เป็นต้นมา จ านวน 161 ครอบครัว เราก็ยืนยันว่าเราอยู่มาก่อน นายทุนมีเอกสารสิทธิได้
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131