Page 122 - kpi19910
P. 122

112






                               2. การลงพื นที่สร้างความเข้าใจกับชาวบ้านของบริษัท

                      ปัจจัยที่จะสนับสนุนเพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง คือ

                               1. ผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลถูกท าลาย
                               2. ผลกระทบต่อการประกอบอาชีพในพื นที่

                      ผลกระทบที่เกิดขึ้น :

                               สร้างความวิตกกังวลต่อการด ารงชีวิตที่เปลี่ยนไป รวมถึงทรัพยากรทางธรรมชาติถูกท าลาย
                      มากขึ น

                      ที่มาของข้อมูล :

                               1. สัมภาษณ์ตัวแทนชาวบ้านในพื นที่
                               2. ผู้จัดการออนไลน์ “ภูเก็ต, ผู้ว่าฯ ภูเก็ต แขวน ?มารีนายามู? ลดความขัดแย้งประชาชนใน
                      พื นที่” สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2561 จาก
                      http://www.andamanguide.com/andaman_news/andaman_news_1_1229.html

                               3. oknation “ผู้ว่าฯสั่งชะลอโครงการท่าเทียบเรือแหลมยามู เหตุคนในพื นที่ขัดแยังกัน”
                      เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2550 จาก
                      http://oknation.nationtv.tv/blog/phukettimes/2007/06/12/entry-2
















                      32. คัดค้านสร้างโรงงานแทนทาลัม


                      พื้นที่ : อ าเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต


                      ประเภทความขัดแย้ง : อุตสาหกรรม (แร่ธาตุ)

                      ระดับการรับรู้ของสังคม : ระดับชาติ ผ่านสื่อทางสังคมหลากหลายทั งวิทยุและโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์


                      ประเด็นขัดแย้ง :
                               บริษัท ไทยแลนด์ แทนทาลัม อินดัสตรี จ ากัด ระบุการสร้างโรงงานแทนทาลัม แต่ได้รับการ

                      คัดค้านจากชาวบ้านอ าเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ได้ข้อมูลว่าโรงงานแทนทาลัมจะก่อให้เกิดมลพิษต่อ
                      ประชาชนและสิ่งแวดล้อมของภูเก็ต จนเกิดความรุนแรงเผาท าลายโรงงาน
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127