Page 123 - kpi19910
P. 123

113






                      ความเป็นมา :
                               วันที่ 23 มิถุนายน 2529 เกิดจลาจลเผาโรงงานแทนทาลัมขึ นที่จังหวัดภูเก็ต เหตุการณ์ครั ง

                      นั นเป็นจุดเปลี่ยน ท าให้จังหวัดที่พึ่งรายได้จากเหมืองแร่เมื่อเกิดการที่ผู้ชุมนุมประท้วงจุดไฟเผาโรงงาน
                      แทนทาลัมจนวอดวาย ไม่สามารถเปิดด าเนินการได้ตามก าหนดและสุดท้ายต้องย้ายไปสร้างที่อื่น
                      เหตุการณ์ในครั งนี กลายเป็นจุดเปลี่ยนส าคัญทางเศรษฐกิจของจังหวัดภูเก็ตจากการพึ่งรายได้จาก
                      อุตสาหกรรมเหมืองแร่มาสู่อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจนถึงปัจจุบัน  ตั งแต่สมัยโบราณมา 'แร่ดีบุก'เป็น

                      ทรัพยากรส าคัญที่สร้างรายได้หลักให้กับภูเก็ตมาตลอด แต่ตั งแต่ปี  2524 ราคาดีบุกในตลาดโลกเริ่ม
                      ต่ าลง การค้าดีบุกจึงซบเซาพร้อม ๆ กับปริมาณ “ดีบุก” ที่มีการขุดพบลดลง ในระหว่างที่อุตสาหกรรม
                      การผลิตและการค้าดีบุกชะลอตัว ก่อนหน้านั นชาวภูเก็ตได้รับรู้และพบว่า “ขี ตะกรันดีบุก” หรือ

                      “สะแหลกดีบุก” เป็นแร่ที่สามารถขายได้ในราคาดี เพราะมีแร่โคลัมไบต์–แทนทาไลต์ ซึ่งเป็นแร่ยุทธ
                      ปัจจัยใช้ส าหรับท ายานอวกาศหรือหัวจรวดน าวิถีและขีปนาวุธต่าง ๆ ทั งนี เพราะมีคุณสมบัติพิเศษที่ทน
                      ต่อความร้อนที่เกิดจากการเผาไหม้เสียดสีของอากาศได้สูงมาก แร่โคลัมไบต์–แทนทาไลต์ มีราคา
                      กิโลกรัมละ 60–70 บาทและเมื่อน ามาผ่านกระบวนการสกัดต่อจนได้ “แร่แทนทาลัม” จะมีราคาสูง
                      กว่าแร่แทนทาไลต์หรือขี ตะกรันดีบุกประมาณ 40-50 เท่า

                                 เมื่อชาวบ้านทราบว่า'ขี ตะกรัน'เป็นของมีราคาจึงแตกตื่น ส่งผลให้บรรดานายทุนต่าง ๆ ยื่น
                      ประมูลต่อทางการขอขุดถนนเก่า ๆ ทุกสายในตัวเมืองภูเก็ต โดยมีข้อตกลงว่า เมื่อขุดเสร็จแล้วจะสร้าง
                      ถนนใหม่ทดแทน ส่วนบ้านที่ปลูกสร้างอยู่บนเตาถลุงที่มีขี ตะกรันฝังอยู่มาก ๆ ก็จะถูกรื อหรือทุบพื นทิ ง

                      เพื่อขุดเอาขี ตะกรันดังกล่าวขึ นมา ในขณะนั นคนภูเก็ตสามารถท ารายได้จากการขุดขาย “ขี ตะกรัน
                      ดีบุก” หรือรับจ้างขุดสูงถึงวันละ 180 บาท ผลจากการตื่นตัวใน'แร่แทนทาลัม ส่งผลให้เกิดแนวคิดที่
                      จะสร้างโรงงานถลุงแทนทาลัมขึ น โดยในวันที่ 28 ธันวาคม 2522 บริษัท ไทยแลนด์ แทนทาลัม
                      อินดัสตรี จ ากัด ได้จดทะเบียนจัดตั งเป็นบริษัท โดยมีโครงการก่อสร้างโรงงานที่อ าเภอเมือง จังหวัด

                      ภูเก็ต ต่อมาได้รับใบอนุญาตให้สร้างโรงงานในปี 2526 จนก่อสร้างแล้วเสร็จ และคาดว่าจะเปิด
                      ด าเนินการตั งแต่ต้น ปี 2529 แต่โรงงานไม่สามารถเปิดด าเนินการได้ เพราะประสบปัญหาการคัดค้าน
                      จากหลายภาคส่วนทั งในระดับจังหวัดและประเทศอย่างรุนแรง เนื่องจากชาวภูเก็ตได้รับข้อมูลจากฝ่าย
                      คัดค้านการเปิดโรงงานว่า โรงงานแทนทาลัมจะก่อให้เกิดมลพิษต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อมของภูเก็ต

                      จนน ามาสู่ความขัดแย้งแผ่ขยายตัว
                                 ในวันที่ 13 มิถุนายน 2529  ตัวแทนจากจังหวัดภูเก็ตได้ขอพบนายกรัฐมนตรีในขณะนั น คือ
                      พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ที่ท าเนียบรัฐบาล เพื่อขอให้ปิดโรงงานแทนทาลัมภายในวันที่ 2 กรกฎาคม
                      2529 แต่กระทรวงอุตสาหกรรมประสงค์จะได้ข้อคิดเห็นในการคัดค้านครั งนี  นายจิรายุ อิศรางกูร

                      ณ อยุธยา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมในขณะนั น เดินทางไปยังจังหวัดภูเก็ตเพื่อรับฟังความ
                      คิดเห็นตามความต้องการของตัวแทนกลุ่มคัดค้าน โดยนัดหมายที่ศาลาประชาคม แต่เมื่อไปถึงผู้ชุมนุม
                      กลับแสดงทีท่าต่อต้านรัฐมนตรีอุตสาหกรรมและคณะด้วยความรุนแรง โดยผู้ชุมนุมจ านวนหลายพัน

                      คนพยายามเข้าประชิดและขว้างปาและทุบรถ แม้ว่านายจิรายุ ได้ชี แจงให้ผู้ชุมนุมทราบว่ารัฐบาลก าลัง
                      ด าเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาและจะให้ค าตอบแก่ชาวภูเก็ตในวันที่ 2  กรกฎาคม ตามที่ผู้ชุมนุมก าหนด
                      และระหว่างนี ได้ให้โรงงานยุติการด าเนินการชั่วคราวก็ไม่ได้ผล การประท้วงได้รุนแรงขึ นและมีการเผา
                      โรงงานแทนทาลัมและโรงแรมภูเก็ตเมอร์ลินซึ่งเป็นที่พักของนายจิรายุและคณะ จนรัฐบาลต้อง
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128