Page 225 - kpi19903
P. 225

192



               ซ้าย) ก็จะเห็นว่ามีแนวโน้มที่ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างร้อยละที่นับถือศาสนาอิสลามกับร้อยละที่เลือกพรรค
               ประชาธิปัตย์จะมีค่าติดลบหรือมีความสัมพันธ์ทางลบเช่นกัน























































                รูปที่ 12.3 แผนภาพการกระจายระหว่างร้อยละของประชาชนที่นับถือศาสนาอิสลามในแต่ละเขตเลือกตั้งกับ

                 ร้อยละที่เลือกพรรคประชาธิปัตย์ในแต่ละเขตเลือกตั้งแบบแบ่งเขตของทั้งประเทศ (รูปบน) ของทั้งประเทศ
                               ยกเว้นภาคใต้ (รูปล่างซ้าย) ของเฉพาะเขตเลือกตั้งในภาคใต้ (รูปล่างขวา)



                       และเมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างร้อยละที่นับถือศาสนาอิสลามกับร้อยละที่เลือกพรรค
               ประชาธิปัตย์เฉพาะเขตเลือกตั้งในภาคใต้จะเห็นได้ชัดเจนว่ามีค่าสหสัมพันธ์ทางลบ ซึ่งไม่ใช่เรื่องที่น่าแปลกใจ

               กล่าวคือเมื่อขจัดอิทธิพลของความเป็นภูมิภาคนิยมในการเมืองไทยออกไปแล้ว เขตเลือกตั้งใดที่มีประชาชนนับ
               ถือศาสนาอิสลามมากมีแนวโน้มจะไม่เลือกพรรคประชาธิปัตย์ ดังจะเห็นได้ว่าในการเลือกตั้งในอดีตที่ผ่านมา สี่
               จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้แก่ใน จังหวัดนราธิวาส ยะลา และปัตตานีเป็นเขตเลือกตั้งที่พรรคประชาธิปัตย์มักจะ

               ไม่ชนะการเลือกตั้งมาโดยตลอด และมีประชาชนที่นับถือศาสนาอิสลามค่อนข้างมาก แม้กระทั่งเขตเลือกตั้งใน
   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230