Page 93 - kpi19815
P. 93
92 การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 93
1.1.2 เงื่อนไขและกระบวนการในการเสนอคำาร้องคัดค้าน ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายเป็นหลัก ในแง่ของคดีเลือกตั้งทางการเมือง
ผลการเลือกตั้งต่อองค์กรตุลาการ (contentieux des élections politiques) ตุลาการรัฐธรรมนูญมีบทบาท
เป็นตุลาการในคดีเลือกตั้ง (juge des élections) สำาหรับการเลือกตั้ง
เมื่อได้พิจารณาแล้วว่าบุคคลใดบ้างมีสิทธิหรืออำานาจในการ
เสนอคำาร้องคัดค้านผลการเลือกตั้งต่อองค์กรตุลาการ ส่วนถัดไปจะ ทางการเมือง 3 ประเภทอันประกอบไปด้วยการเลือกตั้งประธานาธิบดี
65
เป็นการทำาความเข้าใจเงื่อนไขและกระบวนต่างๆ ในการเสนอคำาร้อง การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ดังกล่าวซึ่งสามารถแยกพิจารณาออกเป็น 2 ประเด็นโดยเริ่มจากเขต ในกรณีของการคัดค้านผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ผู้มีสิทธิ
อำานาจศาลในคดีเลือกตั้ง จากนั้นจึงพิจารณาถึงเงื่อนไขและรูปแบบ เลือกตั้งหรือผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะต้องเสนอ
ของคำาร้องคัดค้านผลการเลือกตั้ง คำาร้องคัดค้านการเลือกตั้งต่อคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญโดยตรง
อนึ่ง คดีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่อยู่ในเขตอำานาจของ
1.1.2.1 เขตอำานาจศาลในคดีเลือกตั้ง คณะตุลาการรัฐธรรมนูญจะต้องเป็นการคัดค้านความชอบด้วยกฎหมาย
66
การคัดค้านผลการเลือกตั้งทางการเมืองในประเทศฝรั่งเศส ของการเลือกตั้ง หรือการโต้แย้งการกระทำาทางปกครองอันเกี่ยวเนื่อง
67
นั้น ผู้มีสิทธิคัดค้านสามารถเสนอคำาร้องต่อองค์กรตุลาการโดยตรง กับการเลือกตั้งนั้น ไม่รวมถึงกรณีการโต้แย้งความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
68
ในเบื้องต้นเราควรพิจารณาองค์กรตุลาการที่มีเขตอำานาจในการวินิจฉัย ของรัฐกฤษฎีกายุบสภาแต่อย่างใด (แม้ผู้ร้องไม่ได้ใช้สิทธิในช่องทาง
คำาร้องคัดค้านผลการเลือกตั้งทุกประเภทเพื่อทำาความเข้าใจภาพรวม ของคดีเลือกตั้ง คณะตุลาการรัฐธรรมนูญก็ไม่มีอำานาจวินิจฉัยประเด็น
ของระบบคดีเลือกตั้งเสียก่อน โดยเราสามารถแบ่งองค์กรตุลาการที่มี ดังกล่าว) อาจกล่าวได้ว่าคดีเลือกตั้งมีลักษณะแตกต่างไปจากคดีทาง
เขตอำานาจในคดีเลือกตั้งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้ รัฐธรรมนูญซึ่งเน้นการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย
เป็นสำาคัญ ดังนั้น ในคดีเลือกตั้งคณะตุลาการรัฐธรรมนูญจะไม่ทำาหน้าที่
(1) คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ ในการตรวจสอบความชอบรัฐธรรมนูญของกฎหมาย การตรวจสอบ
คณะตุลาการรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส (conseil ดังกล่าวจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีการเสนอคำาร้องให้คณะตุลาการพิจารณา
constitutionnel) ประกอบไปด้วยตุลาการจำานวน 9 ตำาแหน่ง ซึ่งมีที่มา แยกเป็นอีกคดีหนึ่งเท่านั้น 69
จากการเลือกของประธานาธิบดี ประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธาน
วุฒิสภาคนละ 3 ตำาแหน่ง มีวาระการดำารงตำาแหน่ง 9 ปี (สามารถดำารง 65 มาตรา 58 และ 59 แห่งรัฐธรรมนูญ
ตำาแหน่งได้เพียงครั้งเดียว) มีอำานาจหน้าที่ในการตรวจสอบความชอบ 66 มาตรา 59 แห่งรัฐธรรมนูญและมาตรา L.O. 188 แห่งประมวลกฎหมายเลือกตั้งฝรั่งเศส
64
67
68 MALIGNER, B. Ibid. pp. 702 – 706
คำาวินิจฉัยคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ Cons. const., 4 juin 1988, M. Rosny Minvielle de
Guilhem de Lataillade, JO 5 juin 1988, p. 7696
69
64 มาตรา 56 แห่งรัฐธรรมนูญ โปรดดู MALIGNER, B. Ibid. P. 713