Page 16 - kpi19815
P. 16

14                                                                                                               การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง  15


                   1.2  บทบ�ทของประช�ชนในฐ�นะเจ้�ของอำ�น�จอธิปไตย                                          ประการแรก กำาหนดระยะเวลาในการเสนอคำาร้องเพิกถอน

           กับก�รตรวจสอบคว�มชอบด้วยกฎหม�ยของก�รเลือกตั้ง                                          สิทธิทางการเมืองของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือผู้สมัครอื่นต่อองค์กร
                                                                                                  ตุลาการ: ระบบการตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของการเลือกตั้ง
                   ประเด็นดังกล่าวสืบเนื่องมาจากปัญหาว่าด้วยบทบาทของ
           คณะกรรมการการเลือกตั้งที่ได้อธิบายไว้ข้างต้น กล่าวคือ คณะกรรมการ                       สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทยไม่มีการกำาหนดระยะเวลาใน

           การเลือกตั้งมีอำานาจผูกขาดการริเริ่มกระบวนการตรวจสอบความชอบ                            การเสนอคำาร้องต่อองค์กรตุลาการ กล่าวคือ คณะกรรมการการเลือกตั้ง
           ด้วยกฎหมายของการเลือกตั้งไว้แต่เพียงองค์กรเดียว ในขณะที่ประชาชน                        มีดุลยพินิจในการเสนอคำาร้องต่อศาลหรือไม่ก็ได้ และในกรณีที่เสนอ
                                                                                                  คำาร้องต่อศาลก็สามารถเสนอในช่วงเวลาใดก็ได้ ส่งผลต่อความมั่นคง
           ผู้เป็นเจ้าของอำานาจอธิปไตยกลับไม่มีสิทธิในการเสนอคำาร้องต่อองค์กร
           ตุลาการเพื่อวินิจฉัยข้อพิพาทอันส่งผลกระทบต่อเจตจำานงในทางการเมือง                      และแน่นอนของสถานะและการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทน
           ของตนเอง บทบาทของประชาชนที่ปรากฏในระบบการตรวจสอบ                                       ราษฎร เนื่องจากอาจจะถูกถอดถอนออกจากตำาแหน่งและเพิกถอน

           ความชอบด้วยกฎหมายของการเลือกตั้งจึงเป็นเพียงผู้มีสิทธิร้องเรียน                        สิทธิทางการเมืองในช่วงเวลาใดก็ได้ แม้จะล่วงเลยวันที่มีการประกาศ
           และให้ข้อมูลต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือเป็นพยานในชั้นศาล                            ผลการเลือกตั้งมานานนับปีก็ตาม

           กรณีที่น่าพิจารณาอย่างยิ่งคือหากความบกพร่องอันส่งผลต่อความชอบ                                   ประการที่สอง การสะดุดหยุดลงของการปฏิบัติหน้าที่ของ
           ด้วยกฎหมายของการเลือกตั้งนั้นเกิดจากการกระทำาของคณะกรรมการ                             สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร: นับตั้งแต่การประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่ง
           การเลือกตั้งเสียเอง คณะกรรมการการเลือกตั้งจะริเริ่มกระบวนการ                           ราชอาณาจักรฉบับ พ.ศ. 2550 เป็นต้นมาจนกระทั่งรัฐธรรมนูญฉบับ

           ตรวจสอบกรณีดังกล่าวหรือไม่ ? หากพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดกรณีเช่นว่านั้น                   ปัจจุบัน หากศาลฎีการับคำาร้องว่าด้วยการเพิกถอนสิทธิทางการเมือง
           เสียเองจะถือว่าคำาวินิจฉัยดังกล่าวขัดต่อหลักความเป็นกลางหรือไม่ ?                      ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งเสนอโดยคณะกรรมการการเลือกตั้ง
                                                                                                  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่ในทันทีจนกว่าศาล


                   1.3  ผลกระทบต่อก�รปฏิบัติหน้�ที่ของสม�ชิก                                      จะวินิจฉัยยกคำาร้องดังกล่าว ดังนั้นในช่วงแรกของการเปิดประชุม
           สภ�ผู้แทนร�ษฎรอันเกิดจ�กวิธีพิจ�รณ�คดีเลือกตั้ง                                        สภาผู้แทนราษฎร จำานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะไม่ครบถ้วนอยู่เสมอ
                                                                                                  โดยนอกจากบทบัญญัติดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อการดำาเนินงานของ
                   ผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร                             ฝ่ายนิติบัญญัติแล้ว ยังเป็นการสันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ถูกร้องได้กระทำาผิด
           อันเกิดจากวิธีพิจารณาคดีเลือกตั้งแบ่งออกได้เป็น 2 ประการดังนี้                         ตามที่ผู้ร้องกล่าวหาจริงจึงต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่ ต่อเมื่อศาลฎีกาวินิจฉัย

                                                                                                  ยกคำาร้องจึงจะสามารถเริ่มปฏิบัติหน้าที่อีกได้อีกครั้ง
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21