Page 12 - kpi19815
P. 12
10 การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 11
ล้มลุกคลุกคลานอยู่ตลอดจนกระทั่งปัจจุบัน ปัจจัยสำาคัญที่ก่อให้เกิด เพื่อทำาความเข้าใจประเด็นสำาคัญของงานวิจัยชิ้นนี้ เราสามารถ
ปัญหาดังกล่าวปรากฏอยู่หลายประการ เช่น การก่อรัฐประหารเพื่อ พิจารณาสาระสำาคัญของงานวิจัยผ่าน “ปัญหาว่าด้วยการตรวจสอบ
ล้มล้างระบอบประชาธิปไตย ความเหลื่อมล้ำาทางด้านเศรษฐกิจและ ความสุจริตและเที่ยงธรรมของการเลือกตั้งในประเทศไทย” และ “เงื่อนไข
สังคม หรือความล้มเหลวในการปฏิรูปประเทศโดยนักการเมืองและ ในการก่อตั้งระบบการตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของการเลือกตั้ง
ข้าราชการประจำา เป็นต้น นอกเหนือจากปัญหาเหล่านี้ซึ่งเป็นเรื่อง ที่มีประสิทธิภาพ”
ในทางการเมือง เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่าระบบกฎหมายก็เป็นอีกปัจจัย
ของปัญหาข้างต้นเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบการตรวจสอบ 1. ปัญหาว่าด้วยการตรวจสอบความสุจริตและเที่ยงธรรม
ความชอบด้วยกฎหมายของการเลือกตั้งซึ่งแทนที่จะเป็นเครื่องประกัน ของการเลือกตั้งในประเทศไทย
ประสิทธิภาพของการเลือกตั้งที่เป็นกระบวนการแสดงเจตจำานงทาง
การเมืองของประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำานาจอธิปไตย แต่บางครั้ง เราสามารถแยกปัญหาว่าด้วยการตรวจสอบความชอบด้วย
กลับกลายเป็นตัวถ่วงการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยโดยการทำาลาย กฎหมายของการเลือกตั้งในปัจจุบันได้เป็น 4 ประเภทดังนี้
เจตจำานงของประชาชนเสียเอง ดังนั้น การศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนา 1.1 ก�รผูกข�ดอำ�น�จหน้�ที่ในก�รตรวจสอบ
องค์ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบความสุจริตและเที่ยงธรรมของ คว�มชอบด้วยกฎหม�ยของก�รเลือกตั้งโดยคณะกรรมก�ร
การเลือกตั้งย่อมเป็นเรื่องที่มิอาจหลีกเลี่ยงได้ หากต้องการพัฒนา
ระบอบประชาธิปไตยโดยผู้แทนในประเทศไทย ก�รเลือกตั้ง
นอกจากอำานาจในการจัดการเลือกตั้งแล้ว คณะกรรมการ
งานวิจัยชิ้นนี้มุ่งเน้นการศึกษาค้นคว้าการตรวจสอบความสุจริต
และเที่ยงธรรมของการเลือกตั้งด้วยวิธี “การคัดค้านผลการเลือกตั้ง การเลือกตั้งยังมีบทบาทในกระบวนการตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมาย
โดยประชาชน” ซึ่งอาจเป็นทางออกหนึ่งของปัญหาว่าด้วยความสุจริต ของการเลือกตั้งในลักษณะที่ค่อนข้างผูกขาดอีกด้วย บทบาทของ
และเที่ยงธรรมของการเลือกตั้งในประเทศไทย โดยงานวิจัยชิ้นนี้ได้ทำา คณะกรรมการการเลือกตั้งในลักษณะดังกล่าวเริ่มมีขึ้นพร้อมๆ กับการ
การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คำาพิพากษา ก่อตั้งองค์กรอิสระในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
และผลงานวิชาการทั้งของประเทศไทยและต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง และแม้จะมีการเปลี่ยนแปลงพอสมควรเมื่อมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ
กับการตรวจสอบความสุจริตและเที่ยงธรรมของการเลือกตั้ง จนได้ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 แต่สถานะและอำานาจของคณะกรรมการ
ข้อสรุปเกี่ยวกับปัญหาของการตรวจสอบความสุจริตและเที่ยงธรรม การเลือกตั้งก็ยังคงมีลักษณะที่ค่อนข้างเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเรื่อยมา
ของการเลือกตั้งในประเทศไทย รวมทั้งได้ข้อเสนอที่สามารถพัฒนา จนกระทั่งรัฐธรรมนูญปัจจุบัน การกำาหนดอำานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
ระบบคดีเลือกตั้งได้ในอนาคตอันใกล้ การเลือกตั้งในลักษณะดังกล่าวนำาไปสู่ปัญหา 2 ประการดังนี้