Page 174 - kpi11890
P. 174
บันทึกเรื่องเด่นรางวัลพระปกเกล้า’ 52
1
ร่วมมือในการจัดการปัญหาอุทกภัย การจัดการจราจร และการจัดการสิ่งแวดล้อม
ให้ประสบความสำเร็จนั้นมีปัจจัยสำคัญดังนี้
1. ด้านหลักการทำงานที่ยึดหลัก 3-ONE ประกอบด้วย 4
1.1 One People คือคนในพื้นที่นั้นต้องเป็นพวกเดียวกัน ไม่มี
ความขัดแย้งหรือมีอคติต่อกัน พวกเดียวกันในที่นี้หมายความถึง
พวกเดียวกันในการดำเนินงาน คือ เข้าใจกัน เข้าถึงปัญหา
ด้านด้านการเสริมสร้างเครือข่าย รัฐ เอกชน และประชาสังคม านโดยเฉพาะการแกไขปญหา
1. ดานหลักการทํางานที่ยึดหลัก 3-ONE ประกอบดวย
ร่วมมือด้วยใจ เช่น นายกเทศมนตรีต้องเป็นพวกเดียวกับ 4
1.1 One People คือคนในพื้นที่นั้นตองเปนพวกเดียวกัน ไมมีความขัดแยงหรือมีอคติตอ
หัวหน้าส่วนราชการ เป็นพวกเดียวกับผู้บริหารองค์กรปกครอง
กัน พวกเดียวกันในที่นี้หมายความถึง พวกเดียวกันในการดําเนินงาน คือ เขาใจกัน เขาถึงปญหา
ส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานราชการต่าง ๆ ที่อยู่ในเขตพื้นที่
รวมมือดวยใจ เชน นายกเทศมนตรีตองเปนพวกเดียวกับหัวหนาสวนราชการ เปนพวกเดียวกับผูบริหาร
เดียวกันและรวมถึงประชาชน
องคกรปกครองสวนทองถิ่น และหนวยงานราชการตาง ๆ ที่อยูในเขตพื้นที่เดียวกันและรวมถึงประชาชน
1.2 One Aim คือมีเป้าหมายในการดำเนินงานร่วมกัน เพื่อความสุข
1.2 One Aim คือมีเปาหมายในการดําเนินงานรวมกัน เพื่อความสุขของประชาชนในพื้นที่
ของประชาชนในพื้นที่ เมื่อทุกภาคส่วนมีเป้าหมายในการ
รทําง
เมื่อทุกภาคสวนมีเปาหมายในการดําเนินรวมกันและยอมสงผลใหกา
ดำเนินร่วมกันและย่อมส่งผลให้การทำงานโดยเฉพาะการแก้ไข
ที่มีลักษณะเปนปญหารวมกันของหลายฝายประสบผลสําเร็จได
1.3 One Way คือ ดําเนินงานไปในทิศทางและแนวทางเดียวกัน โดยในการดําเนินงาน
ปัญหาที่มีลักษณะเป็นปัญหาร่วมกันของหลายฝ่ายประสบ
ตองเคารพมติเสียงสวนสวนใหญวาจะใชวิธีใดในการทํางานรวมกัน
ผลสำเร็จได้
1.3 One Way คือ ดำเนินงานไปใน
ทิศทางและแนวทางเดียวกัน
โดยในการดำเนินงานต้อง
เคารพมติเสียงส่วนส่วนใหญ่ว่า
จะใช้วิธีใดในการทำงานร่วมกัน
2. ด้านผู้นำ ผู้นำที่สร้างสำเร็จในการ
2. ดานผูนํา ผูนําที่สรางสําเร็จในการแกไขปญหาอุทกภัยของเมืองทุงสงคือ ผูนําจากภาคสวน
แก้ไขปัญหาอุทกภัยของเมืองทุ่งสงคือ ผู้นำจาก
5
ราชการ ผูนําจากภาคองคกรปกครองสวนทองถิ่น และผูนําชุมชน ซึ่งบุคคลที่สําคัญมากที่สุดที่ทําใหเกิด
การกอรูปจนกลายเปนเครือขายที่เขมเข็งคือ นายทรงชัย วงษวัชรดํารง นายกเทศมนตีเมืองทุงสง บุคคล
4 สถาบันพระปกเกล้า, ความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบและ
ผูรูหลักการประสานงาน (coordinating) เปนอยางดี ซึ่งการประสานงานถือเปนหัวใจสําคัญอีกอยางหนึ่ง
ความเป็นไปได้ (กรุงเทพมหานคร : สถาบันพระปกเกล้า, 2550).
ของการบริหารงาน โดยเฉพาะการบริหารงานในระบบราชการนั้น ถึงแมวาจะเนนสายการบังคับบัญชา
(hierarchy) แตหากผูบริหารใหความสําคัญกับการประสานงานจะสงผลใหขาราชการและประชาชนรูสึก
เกิดความผูกพันและสามัคคีซึ่งกันและกัน ซึ่งจะนําไปสูการประสบความเร็จในการปฏิบัติโดยงานที่
ออกมาก็จะมีลักษณะเปนไปตามที่ตองการ
อาจสรุปไดวา รูปแบบของเครือขายความรวมมือในการดําเนินและแกไขปญหาอุทกภัยและน้ํา
ทวม รวมถึงปญหาอื่น ๆ ของเมืองทุงสง ปจจัยสําคัญที่ทําใหการดําเนินงานประสบความสําเร็จก็คือ
วัฒนธรรมของคนในเมืองทุงสงเอง ซึ่งอาจจะไมพบวัฒนธรรมเชนนี้ในพื้นที่อื่น ๆ ซึ่งเปนวัฒนธรรมของ
4 สถาบันพระปกเกลา, ความรวมมือระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่น รูปแบบและความเปนไปได (กรุงเทพมหานคร : สถาบัน
พระปกเกลา, 2550).
5 สุริโย วิชัยดิษฐ ผูบัญชาการเรือนจําอําเภอทุงสง, สัมภาษณโดยผูเขียน, 11 มีนาคม 2553, เทศบาลเมืองทุงสง, นครศรีธรรมราช, เทป
บันทึกเสียง.
15