Page 210 - kpiebook65066
P. 210

138






                       กลุมวัยแรงงาน จํานวน 40,342 (51.9%) รองลงมาอยูในกลุมวัยเด็ก-วันรุน จํานวน 27,969 คน
                       (36.0%) และวัยสูงอายุ จํานวน 9,467 คน (12.1%) มีจํานวนบานเรือนทั้งหมด 26,666 หลังคา
                       เรือน สําหรับประชากรตางดาวที่จดทะเบียนในเขตเทศบาลนครภูเก็ตมีจํานวน 20,564 คน จําแนก
                       เปนจีน/สัญชาติอื่นที่ไมใชไทย 12,198 คน เมียนมา/ลาว/กัมพูชา 8,366 คน (เทศบาลนครภูเก็ต,

                       2565, น. 3 - 4)
                                     ๓) สังคม และเศรษฐกิจ สภาพสังคมโดยทั่วไปของเทศบาลนครภูเก็ตเปนสังคม
                       เมือง มีโรงเรียนศูนยพัฒนาเด็กเล็กในสังกัด 10 แหง มีโรงพยาบาล 3 แหง เปนโรงพยาบาลของรัฐ 2
                       แหง ไดแก โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต และโรงพยาบาลองคการบริหารสวนจังหวัดภูเก็ต โรงพยาบาล

                       เอกชน 1 แหง ไดแก โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต และมีศูนยบริการสาธารณสุขซึ่งอยูในความ
                       รับผิดชอบของเทศบาลนครภูเก็ตอีก 3 ศูนย โดยสาเหตุการปวย 3 ลําดับแรก (2563) ไดแก อาการ
                       แสดงและสิ่งผิดปกติพบไดจากการตรวจทางคลินิก และทางหองปฏิบัติการที่ไมสามารถจําแนกโรคใน
                       กลุมอื่นได โรคระบบไหลเวียนโลหิต และโรคเกี่ยวกับตอมไรทอโภชนาการ และเมตาบอลิซึม สวน

                       สาเหตุการปวย 3 ลําดับแรก (2563) ไดแก โรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน โรคปอดอักเสบ โรคปอดบวม
                       และโรคไขหวัดใหญ สถิติความผิดในคดีอาญาที่ไดรับแจงเรียงตามลําดับ (2563) ไดแก คดีความผิดที่
                       รัฐเปนผูเสียหาย ความผิดเกี่ยวกับทรัพย ฐานความผิดพิเศษ ความผิดเกี่ยวกับชีวิต รางกาย และเพศ

                       เทศบาลนครภูเก็ตมีจํานวนผูสูงอายุที่ไดรับเงินเบี้ยยังชีพกับเทศบาลนครภูเก็ต (2564) จํานวน
                       8,094 ราย จํานวนผูพิการที่ไดรับเงินเบี้ยยังชีพ จํานวน 1,039 ราย จํานวนผูปวยเอดสที่ไดรับเงิน
                       เบี้ยยังชีพกับเทศบาลนครภูเก็ต จํานวน 63 ราย (เทศบาลนครภูเก็ต, 2565, น. 4 - 15)
                                     ในสวนของสภาพเศรษฐกิจโดยรวมของเทศบาลนครภูเก็ต สวนใหญเปนเศรษฐกิจ
                       นอกระบบเกษตร โดยเทศบาลนครภูเก็ตไมมีพื้นที่เกษตร ในขณะที่พื้นที่ของเทศบาลนครภูเก็ตเปน

                       ศูนยกลางพาณิชยกรรม และธุรกิจตางๆ สวนพื้นที่ที่อยูตอเนื่องจากเปนบริเวณยานที่อยูอาศัยเดิม
                       โดยแรงงานในเขตเทศบาลนครภูเก็ต สวนใหญจะเปนแรงงานจากประเทศพมา แรงงานที่มาจาก
                       ตางจังหวัด ซึ่งเปนแรงงานที่มีคาจางแรงงานขั้นต่ําตามกฎหมายแรงงาน และแรงงานจากประชากรใน

                       พื้นที่ และแมจะเปนยานพาณิชยกรรม แตยังคงมีประชาชนที่ประกอบอาชีพประมง โดยสัตวน้ําจาก
                       การเพาะเลี้ยงที่ทํารายไดเปนอันดับ 1 ไดแก การเพาะ และอนุบาลลูกกุงทะเล รองลงมา คือ การ
                       เลี้ยงกุงทะเล การเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง และการเลี้ยงสัตวน้ําจืด นอกจากนี้ยังมีบางครัวเรือนที่ประกอบ
                       อาชีพเลี้ยงโคเนื้อ หมู ไก เปด และสัตวอื่น ๆ ในสวนของการบริการ สถานประกอบการดานการ

                       บริการ อาทิ ธนาคารในพื้นที่มี 33 แหง สถานีขนสง ในพื้นที่ 1 สถานี ทาเรือในพื้นที่ 1 ทา มีสถานที่
                       ทองเที่ยว อาทิ เลในเมือง (สวนสาธารณะสะพานหิน) จุดชมวิวสวนสาธารณะเขารัง สถานที่
                       ประดิษฐานพระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี อนุสาวรียกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ สะพานหิน
                       เขตพื้นที่อนุรักษสถาปตยกรรมชิโน-โปรตุกีส ยานการคาเมืองเกา บริเวณถนนถลาง ถนนกระบี่ ซอย

                       รมณีย ถนนดีบุก ถนนพังงา ถนนสตูล ถนนรัษฎา ถนนเทพกระษัตรี ถนนเยาวราช ฯลฯ อาคารศาลา
                       กลางจังหวัดภูเก็ต ที่ทําการไปรษณียโทรเลขหลังเกา ศูนยศิลปวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต ศูนยศึกษาปา
                       ชายเลน สะพานหิน เปนตน รวมถึงยังมีการลงทุนอุตสาหกรรมที่สําคัญภายในเขตเทศบาลนครภูเก็ต
                       จํานวน 23 แหง (เทศบาลนครภูเก็ต, 2565, น. 19 - 21)
   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215