Page 205 - kpiebook65066
P. 205

133






                       25 แหง มหาวิทยาลัย 4 แหง และวิทยาลัย 8 แหง ในสวนของเทศบาลนครพิษณุโลกประกอบไป
                       ดวย (1) ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 1 (2) ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 2 (3) โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครพิษณุโลก
                       (ท.1) (4) โรงเรียนเทศบาล 2 (วัดคูหาสวรรค) (5) โรงเรียนเทศบาล 3 (วัดทามะปราง) (6) โรงเรียน
                       เทศบาล 4 (วัดคูหาสวรรค) (7) โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดพันป) (เทศบาลนครพิษณุโลก, 2565a, น.

                       7 - 8) ไดแก

                              ๓.10.4 บริบทดานความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา
                                     ผลจากการปดโรงเรียนในปการศึกษา 2564 ที่มีการปดโรงเรียน 2 รอบ เปน

                       ระยะเวลานานกวา 120 วัน จากทั้งหมด 200 วัน ทําใหนักเรียนตองใชรูปแบบการเรียนออนไลน
                       เปนระยะเวลานาน สงผลใหเด็กจํานวนไมนอยไดรับผลกระทบทั้งดานสุขภาพ และพัฒนาการการ
                       เรียนรูที่ถดถอย โดยเฉพาะเด็กที่มีผูปกครองฐานะยากจนมีสื่อ และอุปกรณไมพรอมในการเรียน
                                     จากการถอดบทเรียนเทศบาล สามารถสรุปผลกระทบจากสถานการณการแพร

                       ระบาดของโควิด-19 ผลกระทบจากสถานการณการแพรระบาดของโควิด-19 ที่มีตอปญหาจากการ
                       เรียนออนไลนในสถานศึกษาสังกัดเทศบาลนครพิษณุโลก ไดดังนี้ (1) เด็กสวนใหญยากจนขาดแคลน
                       อุปกรณในการเรียนรูไมสามารถเขาถึงการเรียนได (2) คาใชจายสัญญาณอินเตอรเน็ตเพิ่มขึ้นเปน

                       ภาระที่เพิ่มขึ้นมาของครอบครัวไมสามารถเขาถึงระบบอินเตอรเน็ตได และ (3) ครูผูสอน และนักเรียน
                       ขาดความรูความเขาใจในการใชเครื่องมือสําหรับการจัดการเรียนการสอน (4) นักเรียนชั้นเด็กเล็ก ๆ
                       ไมไดรับความรวมมือที่ดีจากผูปกครอง เนื่องจากผูปกครองตองทํางานหาเลี้ยงชีพ และครอบครัว (5)
                       นักเรียนไมใหความรวมมือในการเรียนออนไลน เพราะไมคุนเคยกับรูปแบบนี้ และเนื้อหาบางสวน
                       เขาใจยากทําใหครูผูสอนติดตามนักเรียนไดยากมากขึ้น (6) กิจกรรมการเรียนรู เนื้อหาวิชาไม

                       สอดคลองกับการเรียนออนไลน และ (7) ขาดสื่อการเรียนการสอนที่ชวยเสริมประสิทธิภาพการสอน
                       ของครู
                                     ปญหาตาง ๆ ดังกลาวไดสงผลกระทบเชิงลบกับกลุมเด็กนักเรียนในสังกัดเทศบาล

                       นครพิษณุโลก โดยเฉพาะพัฒนาการดานตาง ๆ ทั้งดานวิชาการ ดานสังคม และพัฒนาดานรางกายที่
                       ตองหยุดชะงัก สงผลใหการเรียนเกิดการถดถอย ดังนั้นจึงมีความจําเปนในการฟนฟูการเรียนที่ถดถอย
                       ของนักเรียนในสังกัด จึงใหสถานศึกษาโดยครูปฐมวัย จํานวน 48 คน ประเมินพัฒนาการเรียนของ
                       นักเรียนปฐมวัยในวันเปดภาคเรียนที่ 1/2565 จํานวน 774 คน จากแบบสํารวจสภาพการจัดการ

                       เรียนการสอนออนไลนของสถานศึกษาสังกัดเทศบาลนครพิษณุโลกเพื่อลดความเหลื่อมล้ําทางการ
                       ศึกษา หลังสถานการณโควิดพบวา นักเรียนปฐมวัย มีภาวะความรูถดถอยระดับมากถึงมากที่สุดคิด
                       เปนรอยละ 73.4 โดยเฉพาะปญหาดานสังคม ไดแก ทักษะการทํางานรวมกับผูอื่น ชอบอยูคนเดียว
                       ไมมีจิตสาธารณะ ขาดวินัย และขาดความรับผิดชอบ อารมณฉุนเฉียว โมโหงาย นอกจากนี้ในสวนของ

                       นักเรียนประถมศึกษาปที่ 1-3 จํานวน 979 จากประเมินความสามารถทางการอานของผูเรียน (RT)
                       ป 2564 ระดับ ป.1 มีผลคะแนนเฉลี่ยอยูที่รอยละ 72.51 ลดลงจากป 2563 (รอยละ 84.56)
                       12.05 ดังนั้นจึงมีความจําเปนเรงดวนที่จะตองจัดทําโครงการเพื่อฟนฟูเด็กนักเรียนใหกลับสูระบบ
                       การศึกษาโดยเร็วที่สุดคิดเปนรอยละ 66.3
   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210