Page 204 - kpiebook65066
P. 204

132






                       โรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครพิษณุโลกจํานวน 13 คน จําแนกเปนผูอํานวยการสถานศึกษา 5 คน
                       รองผูอํานวยการสถานศึกษา 8 คน มีครูในสถานศึกษา 165 คน จําแนกเปนอนุบาลเทศบาลนคร
                       พิษณุโลก 31 คน เทศบาล 2 (วัดคูหาสวรรค) 31 คน เทศบาล 3 (วัดทามะปรางค) 31 คน เทศบาล
                       4 (ชุมชนวัดธรรมจักร) 41 คน เทศบาล 5 (วัดพันป) 28 คนและ ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนคร

                       พิษณุโลก 3 คน
                                     2) ดานนโยบาย ในดานการจัดการศึกษา ผูบริหารทองถิ่นมีนโยบายดานการศึกษา
                       เพื่อใหสถานศึกษาในสังกัดเทศบาลนครพิษณุโลกทั้ง 5 แหง ศูนยพัฒนาเด็กเล็กทั้ง 2 แหงเปน
                       สถานศึกษาที่มีคุณภาพ และไดมาตรฐาน โดยกําหนดความเปนเลิศไว 3 ดาน ไดแก เปนเลิศดาน

                       วิชาการ เปนเลิศดานสุขภาพ เปนเลิศดานวัฒนธรรม และพัฒนาความทันสมัย 4 ทันสมัย ไดแก สื่อที่
                       ทันสมัย คุณครูทันสมัย สรางแหลงเรียนรูที่ทันสมัย และการบริหารงานภายในโรงเรียนทันสมัย
                       นอกจากที่กลาวมาแลวยังจะกําหนดการเรียนการสอนในรูปแบบวิถีชีวิตใหม (New Normal) สอดรับ
                       กับสถานการณโควิด-19 รวมถึงการเสริมสรางมาตรการโรงเรียนปลอดภัย (เทศบาลนครพิษณุโลก,

                       2564b)
                                     จากแผนพัฒนาทองถิ่น 5 ป (พ.ศ. 2566 – 2570) ของเทศบาลนครพิษณุโลก
                       พบวา ประเด็นเรื่องการศึกษาปรากฏอยูในยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาการศึกษา และคุณภาพคนสู

                       สังคมแหงภูมิปญญา และการเรียนรูตลอดชีวิตโดยมีเปาประสงคเพื่อสงเสริม สนับสนุน และยกระดับ
                       การศึกษาใหไดมาตรฐานทั่วถึง มีประสิทธิภาพใหเกิดสังคมแหงการเรียนรู และเพื่อเขาสูประชาคม
                       อาเซียน โดยมีกลยุทธ 5 กลยุทธ ไดแก กลยุทธที่ 1 การพัฒนา และยกระดับคุณภาพการศึกษาใหได
                       มาตรฐาน กลยุทธที่ 2 การพัฒนา และสงเสริมใหเกิดสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต กลยุทธที่ 3
                       พัฒนาการสงเสริมการจัดการศึกษาสูอาชีพสําหรับประชาชน กลยุทธที่ 4 พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อ

                       เขาสูประชาคมอาเซียน และกลยุทธที่ 5 การพัฒนากอสราง ปรับปรุงอาคารสถานที่ สภาพแวดลอม
                       ใหเอื้อตอการจัดการศึกษา การจัดกิจกรรมเด็ก และเยาวชนและประชาชน โดยมีโครงการพัฒนา
                       266 โครงการ (20.4%) งบประมาณ 484.233 ลานบาท (16.0%) (เทศบาลนครพิษณุโลก,

                       2565a, น. 56 - 68)
                                     ทั้งนี้เมื่อพิจารณาจากแผนดําเนินงานพบวา เทศบาลนครพิษณุโลกมีโครงการ และ
                       งบประมาณดําเนินงานในสวนของการศึกษาประจําปงบประมาณ 2565 จํานวน 21 โครงการ
                       (17.5%) งบประมาณ 55.315 ลานบาท (24.7%) โครงการที่สําคัญ อาทิ โครงการสงเสริมการ

                       เรียนรู และพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครพิษณุโลก โครงการ
                       โรงเรียนเทศบาลตานสารเสพติด โครงการมัคคุเทศกนอย โครงการอุดหนุนสําหรับสงเสริมศักยภาพ
                       การจัดการศึกษาของทองถิ่น โครงการอุดหนุนสําหรับสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน เปนตน ทั้งนี้
                       เทศบาลนครพิษณุโลกมีโครงการที่เกี่ยวของกับการลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาของเด็ก และ

                       เยาวชน ไดแก โครงการจางนักเรียน นักศึกษาทํางานชวงปดภาคเรียนฤดูรอนเพื่อแกไขปญหาสังคม
                       และความยากจน โครงการคาใชจายในการพัฒนาครูสอนเด็กดอยโอกาส (เทศบาลนครพิษณุโลก,
                       2564a, น. 6 - 16)
                                     3) สถานศึกษา ในเขตพื้นที่เทศบาลมีสถานศึกษารวม 44 แหง จําแนกเปน

                       โรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครพิษณุโลก 5 แหง และศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 2 แหง โรงเรียนในสังกัดอื่นๆ
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209