Page 202 - kpiebook65066
P. 202

130






                       เทศบาลนครพิษณุโลกจึงมียุทธศาสตรการพัฒนาดานการศึกษาโดยตรง โดยปรากฏอยูในยุทธศาสตร
                       ที่ 2 ยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษา และคุณภาพคนสูสังคมแหงภูมิปญญา และการเรียนรู
                                     โดยเทศบาลนครพิษณุโลกมีแผนในการจัดทําโครงการทั้งหมด 1,302 โครงการ
                       งบประมาณ 3,020.099 ลานบาท โดยโครงการสวนใหญอยูในยุทธศาสตรที่ 1 ยุทธศาสตรการ

                       พัฒนาสาธารณูปโภคใหมีคุณภาพ และไดมาตรฐาน จํานวน 366 โครงการ (28.1%) งบประมาณ
                       1,262.513 ลานบาท (41.8%) (เทศบาลนครพิษณุโลก, 2565a, น. 68)
                                     อยางไรก็ตามในแผนการดําเนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทศบาลนคร
                       พิษณุโลกมีโครงการทั้งหมด 120 โครงการ จํานวนงบประมาณ 223.889 ลานบาท งบประมาณ

                       สวนใหญอยูที่ยุทธศาสตรที่ 2 ยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษา และคุณภาพคนสูสังคมแหงภูมิปญญา
                       และการเรียนรูจํานวน 26 โครงการ (21.7%) งบประมาณ 56.755 ลานบาท (25.3%) แต
                       ยุทธศาสตรที่มีงบประมาณมากที่สุด ไดแก ยุทธศาสตรที่ 4 ยุทธศาสตรการสงเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี
                       ของประชาชน งบประมาณ 106.111 ลานบาท (47.4%) (เทศบาลนครพิษณุโลก, 2564a, น. 6

                       – 7)
                                     ในสวนของฐานะการเงิน ในดานรายรับ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 เทศบาลเมือง
                       พิษณุโลกมีรายรับจํานวน 659.139 ลานบาท สวนใหญไดจากเงินอุดหนุนทั่วไป 296.852 ลาน

                       บาท (45.0%) และจากภาษีจัดสรร จํานวน 286.000 ลานบาท (43.4%) รายจาย 569.773
                       ลานบาท (เทศบาลนครพิษณุโลก, 2564c, น. 1)

                              ๓.10.2 บริบทเชิงพื้นที่
                                     ๑) ลักษณะทางกายภาพ เทศบาลนครพิษณุโลกมีพื้นที่ประมาณ 18.26 ตาราง

                       กิโลเมตร สวนใหญพื้นที่มีลักษณะเปนที่ราบลุมแมน้ํา มีแมน้ําไหลผานกลางเมืองจากทิศเหนือลงสูทิศ
                       ใต ทําใหสามารถแบงเขตเทศบาลออกเปน 2 ฝง ไดแก ฝงตะวันออกของแมน้ํา มีพื้นที่ประมาณ 13
                       ตารางกิโลเมตร สวนใหญเปนแหลงประกอบธุรกิจ ศูนยกลางคมนาคม สวนฝงตะวันตกของแมน้ํามี

                       พื้นที่ประมาณ 5 ตารางกิโลเมตร สวนใหญเปนยานที่อยูอาศัย สถานที่ราชการ สถานศึกษา (เทศบาล
                       นครพิษณุโลก, 2565a, น. 1)
                                     ๒) ประชากร ในป 256๕ เทศบาลนครพิษณุโลกมีประชากรทั้งสิ้น 63,978 คน
                       จําแนกเปนเพศชาย 29,047 คน และเพศชาย 34,911 คนสวนใหญอยูในวัยแรงงานอายุ 15 –

                       59 ป จํานวน 39,134 คน (61.2%) วัยสูงอายุ 60 – 100 ป จํานวน 16,284 คน (25.5%)
                       และวัยเด็ก ทารก – 14 ป จํานวน 8,500 คน (13.3%) มีจํานวนครัวเรือน 36,845 ครัวเรือน
                       (เทศบาลนครพิษณุโลก, 2565a, น. 5 - 7)
                                     ๓) สังคม และเศรษฐกิจ สภาพสังคมโดยทั่วไปของเทศบาลนครพิษณุโลกประชาชน

                       สวนใหญอยูในสังคมเมือง มีสถานศึกษา 44 แหง มีศูนยสุขภาพชุมชนที่ดูแลประชากรทุกกลุม อาทิ
                       ศูนยสุขภาพผูสูงอายุ 4 แหง โรงเรียนสุขภาพเทศบาลนครพิษณุโลก ศูนยสุขภาพราชการไทย สโมสร
                       สุขภาพ ในดานสุขภาพ ในป 2563 มีจํานวนผูปวยที่เกิดจากอุจาระรวงมากที่สุด รองลงมา ไดแก
                       ไขหวัดใหญ ทั้งนี้ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลกมีสถานพยาบาล 631 แหง เปนโรงพยาบาลเอกชน 5

                       แหง โรงพยาบาลของรัฐ 1 แหง และคลินิกเอกชน 625 แหง มีอาสาสมัครสาธารณสุข 640 คน ใน
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207