Page 198 - kpiebook65066
P. 198

126






                       ตอนตน) (3) โรงเรียนมารีวิทยา (ขยายโอกาสทางการศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนตน)
                       (4) โรงเรียนรวมสินวิทยา (ขยายโอกาสทางการศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนตน) (5) โรงเรียนวัด
                       หลวง (เปดสอนถึงระดับมัธยมตอนปลาย) (6) โรงเรียนมหาพุทธาราม (เปดสอนถึงระดับมัธยมตอน
                       ปลาย) (7) โรงเรียนบานหนองโพธิ์ (8) โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย (เปดสอนถึงระดับมัธยมตอน

                       ปลาย) (9) โรงเรียนสตรีสิริเกศ (เปดสอนถึงระดับมัธยมตอนปลาย) (10) โรงเรียนไกรภักดีวิทยาคม
                       (เปดสอนถึงระดับมัธยมตอนปลาย) (11) วิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ (ระดับอาชีวศึกษา)
                       (12) วิทยาลัยการอาชีพศรีสะเกษ (ระดับอาชีวศึกษา) (13) วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีจังหวัด
                       ศรีสะเกษ (ระดับอาชีวศึกษา) (14) โรงเรียนเทคโนโลยีศรีสะเกษ (ระดับอาชีวศึกษา) (15) วิทยาลัย

                       สารพัดชางศรีสะเกษ (ระดับอาชีวศึกษา) (16) โรงเรียนกีฬาจังหวัดศรีสะเกษ (ระดับมัธยมศึกษา)
                       (17) มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตศรีสะเกษ (18) มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ (19)
                       โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ (20) โรงเรียนศรีเกษตรวิทยา (ระดับมัธยมศึกษา) (21)
                       ศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดศรีสะเกษ และ (22) ศูนยการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม

                       อัธยาศัยอําเภอเมืองศรีสะเกษ

                              ๓.9.4 บริบทดานความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา

                                     เทศบาลเมืองศรีสะเกษ ไดใหความสําคัญกับงานดานเด็กพิเศษ งานการศึกษานอก
                       ระบบ และตามอัธยาศัย จึงไดลงสํารวจเด็กดอยโอกาสทางการศึกษาที่เปนเด็กพิเศษ ในชวงอายุ 2–
                       18 ป ที่อาศัยอยูในเขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษพบวา  เด็กเหลานั้นมีความบกพรองทั้งทางดาน
                       สติปญญา เชน ออทิสติก เรียนรูชา ดาวนซินโดรม และความบกพรองทางดานรางกาย เชน การไดยิน
                       การพูดสื่อสาร การเขาสังคม การเคลื่อนไหว จากการสอบถามผูปกครองที่เปนผูดูแลเด็กเหลานั้น

                       อยางใกลชิด ทําใหทราบวาเด็กสวนหนึ่งไดรับการดูแล และสงเสริมทางดานพัฒนาการตาง ๆ เปน
                       อยางดี เนื่องจากผูปกครองมีอาชีพ และรายไดที่มั่นคง แตเด็กสวนใหญที่พบมักอาศัยอยูกับผูปกครอง
                       ที่มีครอบครัวแตกแยก มีปญหาหยาราง บางสวนผูปกครองเปน ปู ยา ตา ยาย ซึ่งมีอายุมาก ทําให

                       ดูแลเด็กไดไมดีเทาที่ควร การเขาถึงขอมูลขาวสาร และสิทธิประโยชนตาง ๆ ของคนพิการมีนอย
                       สวัสดิการตาง ๆ ที่ไดรับจากรัฐและหนวยงานอื่น ๆ ไมเพียงพอสําหรับการดําเนินชีวิต
                                     ที่มาของปญหาดังกลาวเกิดจาก (1) ครอบครัวมีฐานะยากจน ผูปกครองมีอาชีพ
                       และรายไดไมแนนอน (2) ครอบครัวแตกแยก พอแมหยาราง มีพอ หรือแมเปนผูดูแลเพียงฝายเดียว

                       (3) เด็กอาศัยอยูกับบุคคลอื่นที่ไมใชบิดาหรือมารดาของตนเอง เชนอาศัยอยูกับปู ยา ตา ยาย (4)
                       เนื่องจากครอบครัวยากจนไมสามารถมีเครื่องมือสื่อสารได และ (5) สวัสดิการตาง ๆ ที่ไดรับจากรัฐ
                       และหนวยงานอื่น ๆ ไมเพียงพอสําหรับการดําเนินชีวิต
                                     จากปญหา และที่มาของปญหาที่สํารวจไดนั้นทําใหทราบวา เด็กพิเศษสวนใหญ

                       ไดรับโอกาสทางการศึกษา และโอกาสที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตนอยกวาเด็กคนอื่น ๆ เนื่องจากขาด
                       อุปกรณการสื่อสาร และการเขาถึงขอมูลขาวสารที่ไดรับจากหนวยงานที่เกี่ยวของเขาถึงไดยาก
                       ชองทางในการติดตอสื่อสารกับหนวยงานที่เกี่ยวของมีความจํากัดในดานการใชเทคโนโลยี การติดตอ
                       ประสานงานยังไมมีความตอเนื่องเทาที่ควร ผลกระทบดังกลาวจึงทําใหเด็กพิเศษขาดโอกาสที่จะไดรับ
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203