Page 195 - kpiebook65066
P. 195

123






                       แผนงานสรางความเขมแข็งของชุมชน แผนงานอุตสาหกรรม และการโยธา แผนงานพาณิชย
                       (เทศบาลเมืองศรีสะเกษ, 2565a, น. 84 - 86) ดังนั้นเทศบาลเมืองศรีสะเกษจึงเปนองคกรปกครอง
                       สวนทองถิ่นที่คอนขางจะใหความสําคัญกับการพัฒนาการศึกษามาก เนื่องจากมียุทธศาสตรชัดเจน
                       คือ ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาการศึกษา

                                     ทั้งนี้เทศบาลเมืองศรีสะเกษมีแผนในการจัดทําโครงการทั้งหมด 1,101 โครงการ
                       งบประมาณ 999.840 ลานบาท โครงการสวนใหญอยูในยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาคุณภาพการศึกษา
                       จํานวน 361 โครงการ (32.8%) งบประมาณ 700.108 ลานบาท (70.0%) (เทศบาลเมือง
                       ศรีสะเกษ, 2565a, น. 87 - 90)

                                     อยางไรก็ตามในแผนการดําเนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทศบาลเมือง
                       ศรีสะเกษมีโครงการทั้งหมด 118 โครงการ จํานวนงบประมาณ 116.990 บาท งบประมาณ
                       โครงการสวนใหญอยูในยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาการศึกษา จํานวน 31 โครงการ (26.3%) ในขณะที่
                       งบประมาณสวนใหญอยูที่ยุทธศาสตรที่ 8 สรางสังคมใหนาอยู จํานวน 47.322 ลานบาท (40.5%)

                       (เทศบาลเมืองศรีสะเกษ, 2564, น. 6 - 9)
                                     ในสวนของฐานะการเงิน ในดานรายรับ เทศบาลเมืองวิเชียรบุรีมีรายได
                       ปงบประมาณ 2564 จํานวน 494.969 ลานบาท สวนใหญไดรับมาจากรายไดที่รัฐบาลอุดหนุนให

                       จํานวน 238.877 ลานบาท (48.3%) โดยมีคาใชจายรวม 480.736 ลานบาท (เทศบาลเมืองศรี
                       สะเกษ, 2565b, น. 87 - 90)

                              ๓.9.2 บริบทเชิงพื้นที่
                                     ๑) ลักษณะทางกายภาพ เทศบาลเมืองศรีสะเกษมีพื้นที่ประมาณ 36.66 ตาราง

                       กิโลเมตร สวนใหญมีลักษณะเปนที่ราบลุมอยูทางตอนเหนือ และตอนกลางของจังหวัด สวนทางตอน
                       ใตเปนที่ลาดชัน และลูกคลื่นลอนตื้นสลับลาดชัน เทศบาลเมืองศรีสะเกษตั้งอยูบนเนินหลังเตา มี
                       ลักษณะพื้นที่ลาดเอียงทางทิศใตไปทางทิศเหนือ สวนทางทิศตะวันออกและทางทิศตะวันตกจะลาด

                       เอียงสูแหลงน้ําธรรมชาติ ทําใหเทศบาลเมืองศรีสะเกษมีลําน้ําธรรมชาติไหลผานรอบตัวเมืองโดย
                       สภาพดินรอยละ 60 เปนดินรวนปนทรายที่มีการระบายน้ําดี มีความอุดมสมบูรณต่ํา มีเพียงรอยละ
                       4.5 ของพื้นที่จังหวัดเทานั้นที่มีระดับความอุดมสมบูรณปานกลางถึงคอนขางสูง สวนที่เหลืออีก
                       ประมาณรอยละ 35.5 เปนดินภูเขาและเทือกเขาซึ่งทําการกสิกรรมไดเพียงบางสวน (เทศบาลเมือง

                       ศรีสะเกษ, 2565a, น. 1)
                                     ๒) ประชากร ในป 2564 เทศบาลเมืองศรีสะเกษมีประชากรทั้งสิ้น 40,522 คน
                       เปนชาย 10,987 คน หญิง 21,435 คน โดยสวนใหญประชากรอยูในชวงอายุ 15 – 59 ป จํานวน
                       25,505 คน (62.9%) กลุมที่อายุ 60 ปขึ้นไป จํานวน 7,577 คน (18.7%) และกลุมที่ อายุ 0 –

                       14 ป จํานวน 7,440 คน (18.4%) มีครัวเรือน 20,849 หลังคาเรือน (เทศบาลเมืองศรีสะเกษ,
                       2565a, น. 3 - 8)
                                     ๓) สังคม และเศรษฐกิจ สภาพสังคมโดยทั่วไปของเทศบาลเมืองศรีสะเกษเปน
                       ชุมชนเมือง โดยในพื้นที่เทศบาลเมืองศรีสะเกษมีสถาบันการศึกษาจํานวนถึง 40 แหง โรงพยาบาล

                       ของรัฐบาล 1 แหง เอกชน 2 แหง ศูนยบริการสาธารณสุข 5 แหง คลินิกในเขตเทศบาลเมืองศรีสะ
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200