Page 191 - kpiebook65066
P. 191

119






                                     2) ดานนโยบาย ในดานการจัดการศึกษา จากแผนพัฒนาทองถิ่น 5 ป ของเทศบาล
                       เมืองวิเชียรเจริญ แมจะไมพบวาเทศบาลมีวิสัยทัศน และยุทธศาสตรโดยตรงดานการศึกษา แต
                       เทศบาลเมืองวิเชียรบุรีไดกําหนดการพัฒนาดานการศึกษาไวในยุทธศาสตรที่ 5 การสงเสริม ศาสนา
                       วัฒนธรรม ประเพณี การกีฬา และคุณภาพชีวิต แผนงานที่ 2 เนื่องจากการศึกษาเปนพันธกิจหนึ่ง

                       ของเทศบาล ที่ตองการใหประชาชนไดรับการศึกษาอยางทั่วถึง เปนคนที่มีคุณภาพ มีความพรอมเขาสู
                       ประชาคมอาเซียน โดยไดวางแผนสนับสนุนโครงการตาง ๆ จํานวนถึง 124 โครงการ คิดเปนจํานวน
                       เงิน 70.063 ลานบาท แมในแผนดําเนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 เทศบาลจะสามารถ
                       จัดสรรงบประมาณไดเพียง 6 โครงการ จํานวนงบประมาณ 1.121 ลานบาทก็ตาม (เทศบาลเมือง

                       วิเชียรบุรี, ๒๕๖๒ก; เทศบาลเมืองวิเชียรบุรี, ๒๕๖๒ข)
                                     อยางไรก็ตามผูบริหารไดใหความสําคัญกับการศึกษา และไดแถลงนโยบาย เมื่อวัน
                       จันทรที่ 7 มิถุนายน 2564 โดยมีประเด็นดานการศึกษา โดยระบุวา จะสงเสริมแหลงการศึกษาชั้นดี
                       สําหรับเด็ก และเยาวชนในเขตเทศบาลเมืองวิเชียรบุรี โดยการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานทาง

                       การศึกษาของโรงเรียนอนุบาล และศูนยพัฒนาเด็กเล็กในสังกัดของเทศบาลเมืองวิเชียรบุรี รวมทั้ง
                       สงเสริมคุณธรรม และจริยธรรมการเสริมสรางพัฒนาการทางอารมณ และสังคมผานกิจกรรมการ
                       เรียนรู ทั้งภายในหองเรียนและนอกหองเรียนที่มีความหลากหลายเหมาะสมตามวัย ตลอดจน

                       เสริมสรางความเสมอภาค และลดชองวางความเหลื่อมล้ําทางดานการศึกษาของสถานศึกษาในพื้นที่
                                     นอกจากนี้จากเขารวมโครงการวิจัยขับเคลื่อนองคกรปกครองสวนทองถิ่น
                       ใหเปนกลไกลดความเหลื่อมล้ําทางดานการศึกษาเมื่อป 2564 เทศบาลเมืองวิเชียรบุรีไดเพิ่มเติม
                       โครงการลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาเขาไปในแผนพัฒนาทองถิ่น (พ.ศ. 2561 – 2565)
                       ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพิ่มเติม ฉบับที่ 3 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมและสนับสนุนให

                       เด็กอายุ 2 – 5 ป ที่อยูในเขตเทศบาลเมืองวิเชียรบุรีไดรับการศึกษาที่เทาเทียมกัน โดยมีงบประมาณ
                       สนับสนุนจํานวน 30,000 บาท
                                     3) สถานศึกษา ในเขตพื้นที่เทศบาลมีสถานศึกษารวม 13 แหง (เทศบาลเมือง

                       วิเชียรบุรี, 2562ก) ไดแก
                                            (3.1) สถานศึกษาสังกัดเทศบาลเมืองวิเชียรบุรี มีจํานวน 3 แหง ไดแก
                       (1) ศูนยพัฒนาเด็กเล็กศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (2) ศูนยพัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนบานนาไร
                       เดียว มี และ (3) ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานสระประดู

                                            (3.2) สถานศึกษาในสังกัดอื่นๆ จํานวน 9 แหง ไดแก (1) โรงเรียนบาน
                       ทาโรง (2) โรงเรียนอนุบาลวิเชียรบุรี (วัดในเรืองศรี) (3) โรงเรียนบานนาไรเดียว (4) โรงเรียนบาน
                       สระประดู (5) โรงเรียนนิยมศิลปอนุสรณ (6) โรงเรียนปาลพันธุวิทยา (7) โรงเรียนสัมพันธวิทยา (8)
                       โรงเรียนอนุบาลกาญจนา และ (9) โรงเรียนปริยัติธรรม (วัดประชานิมิต)


                              ๓.8.4 บริบทดานความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา
                                     จํานวนนักเรียนของโรงเรียนในเขตเทศบาลวิเชียรบุรี มีความแตกตางกันเปนอยาง
                       มาก เกิดจากสาเหตุ 2 ประการ คือ (1) มาตรฐานของการจัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัยของ

                       โรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองวิเชียรบุรีแตละแหงแตกตางกัน และ (2)  ความเชื่อมั่นในการบริหาร
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196