Page 211 - kpiebook65066
P. 211

139






                                     ๔) วัฒนธรรม สําหรับศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม ประชาชนในเขตเทศบาลนคร
                       ภูเก็ต.ประชาชนสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ (75%) รองลงมานับถือศาสนาอิสลาม (20%) นับถือ
                       ศาสนาคริสต (4%) นอกจากนี้ยังนับถือศาสนาอื่น ๆ เชน ศาสนาซิกข ศาสนาฮินดู โดยภายในพื้นที่
                       เทศบาลนครภูเก็ตมีวัด 7 แหง มัสยิด 2 แหง โบสถคริสต 3 แหง วัดซิกข 1 แหง และวัดอินเดีย 1

                       แหง
                                     ในสวนของประเพณี งานประเพณี และงานประจําปที่สําคัญ ไดแก ประเพณีตัก
                       บาตรวันขึ้นปใหม ประเพณีวันมาฆบูชา ประเพณีวันสงกรานต ประเพณีวันวิสาขบูชา ประเพณีวัน
                       เขาพรรษา ประเพณีลอยกระทง ประเพณีถือศีลกินผัก ประเพณีพอตอ ประเพณีไหวเทวดา (ปายที้กง)

                       เทศกาลตรุษจีน (เดือนสามบานเรา) ประเพณีถือศีลอด (มุสลิม) ภูมิปญญาทองถิ่น ไดแก ดาน
                       ศิลปะการแสดงพื้นบาน เชน การแสดงกลองลอโกะ (ลอกอ) ศาลเจาจุยตุย ภูมิปญญาทางดานอาหาร
                       พื้นบาน เชน หมี่ฮกเกี้ยน ขนมเตาสอแมบุญธรรม ขนมอาโปง เปนตน โดยมีสินคาพื้นเมือง และของที่
                       ระลึก ไดแก น้ําพริกกุงเสียบ แกงไตปลา น้ําชุบคั่ว แกงไตปลาแหง เม็ดมะมวงหิมพานต เตาสอ น้ํา

                       มะมวงหิมพานต ขนมจีนน้ํายา ฯลฯ สวนภาษาถิ่น ไดแก ภาษาถิ่นของจังหวัดภูเก็ต (เทศบาลนคร
                       ภูเก็ต, 2565, น. 21 - 25)
                                     ๕) สาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ภายในเขตเทศบาลนครภูเก็ต มีเสนทาง

                       คมนาคมติดตอกับจังหวัดตาง ๆ ไดสะดวกทั้ง 3 ทาง ไดแก ทางบก ทางน้ําและทางอากาศ โดย
                       ภายในเขตเทศบาลมีถนน 286 สาย เปนถนนลาดยาง 261 สาย ถนนคอนกรีต 25สาย ในสวนของ
                       ไฟฟาสําหรับบานพักอาศัยและภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม เปนการใหบริการของการไฟฟาสวนภูมิภาค
                       ซึ่งใหบริการครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดในเขตเทศบาลนครภูเก็ต สําหรับประปาดูแลโดยกองการประปา
                       เทศบาลนครภูเก็ต ในป 2564 มีผูใชน้ําประปาภายในเขตเทศบาล จํานวน 17,627 ราย ผูใช

                       น้ําประปานอกเขตเทศบาล จํานวน 2,830 ราย รวมทั้งสิ้น 20,457 ราย อยางไรก็ตามปญหาที่พบ
                       คือ ปญหาแหลงน้ําดิบที่ใชในการผลิตน้ําประปาไมเพียงพอตอความตองการและปญหาขาดเงินทุนใน
                       การจัดซื้อแหลงน้ําดิบ (เทศบาลนครภูเก็ต, 2565, น. 16 - 19)


                              ๓.11.3 บริบทดานการจัดการการศึกษา
                                     1) ดานหนวยงาน และบุคลากร เทศบาลเมืองวิเชียรบุรีมีหนวยงานที่รับผิดชอบ
                       ดานการศึกษาโดยตรง ไดแก สํานักการศึกษา ประกอบไปดวยสวนบริหารการศึกษา (ฝายการ

                       เจาหนาที่ ฝายกิจการโรงเรียน ฝายวิชาการ) สวนสงเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ฝาย
                       แผนงาน และโครงการ หนวยศึกษานิเทศก (ฝายงานพัฒนางานวิชาการ ฝายพัฒนาการนิเทศก ฝาย
                       วิจัย และประเมินผลทางการศึกษา ฝายบริการทางการศึกษา) ทั้งนี้เทศบาลนครภูเก็ตมีพนักงานครู
                       384 คน และลูกจางประจํา 7 คน (เทศบาลนครภูเก็ต, มปป.b; เทศบาลนครภูเก็ต, 2565, น. 5 )

                                     2) ดานนโยบาย ในดานการจัดการศึกษา จากแผนพัฒนาทองถิ่น 5 ป ของเทศบาล
                       นครภูเก็ต (พ.ศ. 2566 – 2570) พบวา ประเด็นเรื่องการศึกษา อยูในยุทธศาสตรที่ 2 ยุทธศาสตร
                       ดานการศึกษา โดยประกอบดวย 7 กลยุทธ ไดแก (1) สรางโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
                       ใหแกเด็ก เยาวชน และประชาชนในเขตเทศบาล เพื่อมุงสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต (2) พัฒนา

                       และยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดเทศบาล ใหไดมาตรฐาน เปนไปตาม
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216