Page 301 - kpiebook65063
P. 301

องค์การบริหารส่วนตำบลพลับพลาไชย มีข้อมูลจากการลงพื้นที่ปี 2564 คือ แม่แรกคลอด

           ส่วนใหญ่ จะไม่ได้ประกอบอาชีพ ในช่วงระยะเวลา 150 วัน คือช่วงตั้งครรภ์ 7 – 9 เดือน จนถึง
           การคลอด 3 เดือน
     ท้องถิ่นกับภารกิจที่ท้าทายหลังวิกฤตโควิด-19   ประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างมาก โดยเชื่อว่าปัญหาความเหลื่อมล้ำเป็นจุดเริ่มต้นของปัญหา
                 ปัญหาที่พบจากการสำรวจแม่แรกคลอดในปี 2564 พบว่ามี

                 -  เด็กอยู่ในครอบครัวมีปัญหาแม่วัยใส จำนวน 5 คน
                 -  เด็กอยู่ในครอบครัวซึ่งต้องดูแลกลุ่มเปราะบางอีก จำนวนถึง 20 คน

                 -  เด็กอยู่ในครอบครัวที่แม่ไม่มีอาชีพและรายได้ จำนวน 32 คน

                 องค์การบริหารส่วนตำบลพลับพลาไชย ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ



           สังคมไทยอีกหลายด้านและจะกระทบคุณภาพชีวิตคนในพื้นที่ในระยะยาว ในปี 2560 อบต.
           พลับพลาไชย พบปัญหาของประชาชนในท้องถิ่น คือ

                 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร การตั้งครรภ์ในสภาพที่ไม่พร้อม รวมทั้งขาดการวางแผน

           ครอบครัวที่ดีทำให้เด็ก เกิดประสบปัญหาการขาดการดูแลเอาใจใส่จากบิดามารดาเท่าที่ควร
           นอกจากนั้นยังพบว่า ครอบครัวซึ่งมีเด็กเล็กระดับอนุบาลในพื้นที่ ประสบปัญหาค่าใช้จ่ายและ
           เวลาในการส่งบุตรแรกเข้าโรงเรียนไปเรียนในเมือง ซึ่งอยู่ห่างไกลจากพื้นที่ เนื่องจากต้องการ
     ส่วนที่   บันทึกเรื่องเด่นรางวัลพระปกเกล้า: ท้องถิ่นกับบริการสาธารณะ
           ให้บุตรได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ อบต. พลับพลาไชย ซึ่งมีเป้าหมายสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับ
           ประชาชนในพื้นที่ทุกช่วงวัย จึงเริ่มโครงการช่วยเหลือพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน โดยเริ่มจาก

           เด็กตั้งแต่วัยแรกเกิดให้สามารถได้รับโภชนาการที่มีคุณภาพและมีพัฒนาการที่ดี และช่วยเหลือ
           ให้เด็กในพื้นที่ได้เริ่มต้นเข้าถึงโอกาสที่จะได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพใกล้เคียงกับเขตเมือง
           ผ่าน “โครงการรวมพลังสร้างคน เริ่มต้นตั้งแต่เด็กแรกเกิด” และ “โครงการลดช่องว่างทาง

           การศึกษา โรงเรียนอนุบาล 5 G”


           จุดเริ่มต้นของนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนตั้งแต่แรกเกิด


                 ด้วยการบริหาร อบต. พลับพลาไชย เน้นทิศทางการพัฒนาคุณภาพชีวิต และการมีส่วนร่วม

           ของชุมชน เริ่มจากพัฒนาคนให้มีความภาคภูมิใจในท้องถิ่น เพื่อมองเห็นอนาคต ทั้งเรื่องสถาบัน
           ความเป็นท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี ผู้บริหารจึงมองเห็นว่าสถาบันครอบครัวเป็นพื้นฐาน
           ที่แข็งแรงของสังคมระยะยาว ในการพัฒนาคุณภาพประชากรและสังคมให้มีความยั่งยืน  จึงเริ่ม
                                                                                     8

               8   ข้อมูจาก นายพีระศักดิ์ มาตรศรี นายกองค์การบริหารส่วนตำบลพลับพลาไชย (กรกฎาคม 2565). ที่มาและ
           ความสำเร็จของโครงการเด็กแรกเกิดและอนุบาล 5 G. องค์การบริหารส่วนตำบลพลับพลาไชย อำเภออู่ทอง จังหวัด
           สุพรรณบุรี.



        290    สถาบันพระปกเกล้า
   296   297   298   299   300   301   302   303   304   305   306