Page 257 - kpiebook65056
P. 257

256          ผู้  นร   รสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว                                                                                        257



                พระยามโนฯ ได้เป นนายกรัฐมนตรีเป นหัวหน้ารัฐบาลชุดที่ 2 พระยามโนฯ                      และเชื่อนายประยูร ภมรมนตรี ที่แนะนำาให้เลื่อนตำาแหน่งหลวงพิบูลฯ
                กลับแสดงบทบาทเล่นงานกลุ่ม  เด็กหนุ่ม  ของคณะราษฎรตามสายตา                             เพื่อจะเอาหลวงพิบูลฯ มาเป นพวกของตนนั่นเอง

                ของท่าน ที่ท่านเองได้กล่าวกับข้าราชการอาวุโสและพระบรมวงศานุวงค์                               การป ิบัติการย ดอำานาจในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 นั้น
                บางพระองค์ในภายหลังเมื่อท่านต้องลี้ภัยไปอยู่ป นังแล้ว
                                                                                                      จ งเป นความร่วมมือระหว่างพระยาพหลฯ กับหลวงพิบูลฯ ที่จริงตอนนั้น

                        หลังการใช้พระราชก ษฎีกาป ดสภาแล้ว พระยามโนฯ ถูกหัวหน้า                        หลวงพิบูลฯ ซ ่งเป นรองผู้บังคับการทหารป นให ่ เมื่อพระยา ทธิ ลาออกไป
                คณะผู้ก่อการฯ คือ พระยาพหลฯ ซ ่งเป นรัฐมนตรีร่วมรัฐบาลมาตั้งแต่ชุดแรก                 หลวงพิบูลฯ จ งเป นผู้มีอำานาจคุมทหารป นให ่แทน และยังได้รับการแต่งตั้งใหม่
                จนถ งชุดที่ 3 ของพระยามโนฯ ได้ถามในตอนต้นเดือนเมษายน พ.ศ. 2476                        ให้ไปรักษาการเป นผู้ช่วยผู้บั ชาการทหารบก จ งทำาให้มีพลังมากข ้น ทั้งนี้

                หลังป ดสภาฯ ใหม่   ว่า จะเลือกผู้แทนราษฎรในเดือนมิถุนายนหรือไม่                       หลวงพิบูลฯ ยังได้ไปชวนหลวงศุภฯ   ายทหารเรือเข้ามาร่วมด้วย แม้หลวงศุภฯ
                ทั้งนี้เพราะข้างนอกสภาฯ ก็มีเสียงวิจารณ์รัฐบาลในเรื่องนี้จากหนังสือพิมพ์              จะมีบทบาทรองจากหลวงสินธุสงครามชัยก็ตาม แต่หลวงศุภฯ เป นผู้บังคับ

                มาก จนทำาให้รัฐบาลต้องสั่งป ดหนังสือพิมพ์บางฉบับด้วย และพระยาพหลฯ                     กองเรือหลายลำา และหลวงพิบูลฯ กับหลวงศุภฯ ได้ยืนยันขอให้พระยาพหลฯ
                ก็ได้มาถามอีกในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2476 ดังที่ได้             เป นหัวหน้าคณะผู้ย ดอำานาจในครั้งนี้ เมื่อป ิบัติการย ดอำานาจเช้ามืด วันที่
                กล่าวมาแล้ว                                                                           20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 พระยามโนฯ และพระยาราชวังสัน กับพระยาศรีวิสารฯ

                                                                                                      จ งเสมือนไร้อำานาจรอทหาร  ายย ดอำานาจจะมาที่บ้าน และไม่นานเกินรอ
                        การทำาให้สี่ทหารเสือของผู้ก่อการฯ ลาออกจากกองทัพของ
                พระยามโนฯ โดยไม่ยับยั้ง และยังรีบดำาเนินการให้มีพระบรมราชานุ าตให้                    หลวงกาจสงครามได้เป นตัวแทนของคณะผู้ย ดอำานาจนำาจดหมายจาก
                ออก พร้อมกับมีพระบรมราชโองการตั้งนายทหารที่เป น  ายที่คิดจะต่อต้าน                    ผู้รักษาพระนคร ไปยื่นให้พระยามโนฯ ลาออกจากตำาแหน่งนายกรัฐมนตรี

                คณะราษฎรเข้ามาแทนที่ทันที โดยพระยามโนฯ รีบดำาเนินการรับสนอง                           ซ ่งพระยามโนฯ ก็ยอมรับแต่โดยดี
                พระบรมราชโองการแต่งตั้ง ดังนั้นจ งถือว่ารัฐบาล หรือที่จริงพระยามโนฯ                           ความพยายามที่จะประนีประนอมหรือประสานประโยชน์ในรัฐบาล

                ในฐานะนายกรัฐมนตรีเป นผู้เสนอชื่อทั้งรัฐมนตรีและผู้บั ชาการทหารทั้งหมด                ของพระยามโนฯ ซ ่งถือว่าอาศัย  คนกลาง  นั้นมีทั้งความสำาเร็จและล้มเหลว
                ไปทูลเกล้าฯ แต่งตั้ง ดังนั้นความรับผิดชอบจ งอยู่ที่ตัวพระยามโนฯ เอง                   เมื่อล้มเหลวลง นายทหารของคณะราษฎรจ งต้องเข้ามาย ดอำานาจซำ้า ในการย ด
                การที่พระยามโนฯ เลือกหลวงพิบูลสงครามที่เป นนายทหารผู้ก่อการฯ                          อำานาจครั้งหลังนี้เป นเรื่องของทหารเท่านั้น พลเรือนในคณะราษฎรไม่ได้มี

                คนสำาคั ให้ยังครองตำาแหน่งเดิม ซ ่งเท่ากับทำาหน้าที่แทนพระยา ทธิ ฯ                    ส่วนร่วมเลย แม้แต่จะวางแผนก็ไม่มี เพราะทหารที่ย ดอำานาจเป นทหารที่คุม
                ที่ลาออกไปแล้ว ทั้งยังเลื่อนให้หลวงพิบูลฯ เป นผู้รักษาการผู้ช่วยผู้บั ชาการ           กำาลังอยู่ด้วยตัวเอง เอาทหารบกที่ตนคุมอยู่ออกมาย ดจุดยุทธศาสตร์หรือ

                ทหารบกแทนพระยาทรงฯ ก็เท่ากับส่งเสริมให้หลวงพิบูลสงครามมีอำานาจ                        จุดสำาคั ในพระนคร และนาวาตรี หลวงสังวรยุทธกิจ ได้เอาเรือรบออกมา
                มากข ้นไปอีก ที่เป นเช่นนี้น่าจะเป นเพราะพระยามโนฯ นายกรัฐมนตรี กับ                   พร้อมรบในแม่นำ้าเจ้าพระยา รัฐบาลซ ่งกำาลังอยู่ในช่วงที่ว่างทั้งผู้บั ชาการทหาร
                พระยาราชวังสัน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้คิดร่วมกันโดย  ง                        บกและเจ้ากรมยุทธศ กษา จ งหมดโอกาสที่จะใช้ความเป นรัฐบาลตอบโต้ได้
   252   253   254   255   256   257   258   259   260   261   262