Page 248 - kpiebook65056
P. 248

246          ผู้  นร   รสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว                  247



 สมาคมแรกมีฐานะเป นนิติบุคคลในวันรุ่งข ้นโดยมีพระยานิติศาสตร์   ครั้นถ งเดือนมกราคม พ.ศ. 2475 หลวงประดิษฐ์ฯ ซ ่งเป น
 เป นนายกสภากรรมการสมาคม มีนายประยูร ภมรมนตรี เป นอุปนายก   มือกฎหมาย และผู้มีบทบาทด้านการเมืองของคณะราษฎรได้ว่างจาก

 และมีนายวนิช ปานานนท์ เป นเลขาธิการ ส่วนนายสงวน ตุลารักษ์ นั้นเป น  การทำางานสำาคั ได้แก่การร่างรัฐธรรมนู ถาวรฉบับ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
 เหรั  ิก ที่น่าแปลกใจคือ ไม่มีชื่อหลวงประดิษฐ์มนูธรรมดำารงตำาแหน่งสำาคั   กับการทำาร่างกฎหมายเลือกตั้งฉบับแรกให้ออกมาเป นกฎหมายเรียบร้อย
 ของสมาคมการเมืองแห่งนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตำาแหน่งเลขาธิการสมาคม    แล้ว จ งได้เข้ามาดำาเนินการแก้ข้อบังคับของสมาคมคณะราษฎรที่เรียกว่า

 ซ ่งถือกันว่าเป นตำาแหน่งสำาคั มากของสมาคม ผู้ที่ดำารงตำาแหน่งกลายเป น   ธรรมนู คณะราษฎร  โครงสร้างของพรรคตามที่ปราก จากผังที่ทำานั้น
 นายวนิช ซ ่งเป นผู้ก่อการฯ พลเรือน แต่อยู่ในสายทหารเรือ เพราะเคยเป น  จะเห็นได้ว่าเป นการมองภาพรวมของทั้งประเทศ ไม่ใช่เพียงศูนย์กลางหรือ

 นักเรียนนายเรือมาก่อน หากแต่ได้ลาออกไปประกอบอาชีพทางการค้า    หัวใจของประเทศที่จังหวัดพระนครซ ่งเป นเมืองหลวงเท่านั้น หากแต่ได้ไปถ ง
 ท่านผู้นี้เป นน้องเขยของนาวาตรีหลวงสินธุสงครามชัย  ตัวจังหวัด ไปยังอำาเภอ ตำาบลและหมู่บ้านเลยทีเดียว การจัดโครงสร้างสมาคม
                   คณะราษฎรแบบนี้ไม่เคยได้ยินว่าถูกโจมตีว่าเป นแบบคอมมิวนิสต์ ทั้งที่
 การตั้งสมาคมคณะราษฎรนั้นไม่ใช่เรื่องที่น่าแปลกอะไร พิจารณาดู
 จากการป ิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในประเทศอื่น   ที่เกิดข ้นมาในช่วง  บางอย่างมีส่วนคล้ายกับโครงสร้างการมีหน่วยงานของพรรคของสหภาพโซเวียต
 เวลา 20 ป  ก่อนหน้าการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ในประเทศไทย   ที่จริงการจัดโครงสร้างสมาคมแบบนี้เป นการย ดกับโครงสร้างการปกครอง

 จะเห็นว่า คณะป ิวัติหรือคณะรัฐประหารที่เข้าย ดอำานาจการปกครองใน  ของไทยที่มีอยู่ก่อน พ.ศ. 2475 แล้วก็ได้ ดังจะเห็นได้ว่าเมื่อมีกฎหมาย
 ประเทศเหล่านั้น ได้ตั้งองค์การทางการเมืองที่เรียกว่าพรรคการเมืองข ้นมา  การปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 ได้มีกำานันในตำาบล และมีผู้ให ่บ้านในหมู่บ้าน

 เป นเครื่องมือ ในการระดมประชาชนเข้ามาสนับสนุนรัฐบาลด้วยกันทั้งนั้น   การมีหน่วยปกครองจากเบื้องบนที่เป นจังหวัด อำาเภอ ตำาบล และหมู่บ้าน
 การเปลี่ยนร่างขององค์กรจากองค์กรป ดลับเพื่อการป ิวัติ มาเป นองค์กรเป ด    จ งเป นของเดิมของระบบการปกครองไทยในภูมิภาค จะข้ามหน่วยเทศาภิบาล
 ที่สามารถระดมคนเข้ามาทำางานสนับสนุนได้อย่างเป ดเผย และป ิบัติการ  หรือมณ ลไป ก็เพราะหน่วยนี้เป นที่รู้กันดีแล้วในตอนนั้นว่าตั้งใจจะเลิก

 ได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายนั้น จ งเป นสิ่งที่แตกต่างกันอยู่แล้วกับยามที่  อยู่แล้วก็ได้ ด้วยเหตุนี้ การที่มีการเพ่งเล็งที่เค้าโครงเศรษฐกิจมาก และ
 ทำางานลับใต้ดิน มุ่งหวังใช้กำาลังเข้าย ดอำานาจ กับยามที่  ายตนมีอำานาจ  กลายเป นกรณีที่ยกมาเป นจุดแตกหักระหว่างรัฐบาลของพระยามโนฯ กับ

 เป นผู้ปกครองเองจ งต้องเปลี่ยนแปลงรูปแบบขององค์กรของตน มาเป น  สภาผู้แทนราษฎรทำาให้เป นเรื่องที่ต้องมองพิจารณาอย่างรอบด้าน ว่าเป น
 องค์กรที่ถูกกฎหมาย และเปลี่ยนวิธีการที่จะรักษาอำานาจที่ต้องดำาเนินการให้   ประเด็นหลักหรือเปล่า ดังนั้นจ งมีข้อสังเกตว่า ที่จริงเป นการขัดแย้งระหว่าง
 ถูกกฎหมายอีกเช่นกัน และวิธีการที่จะรักษาอำานาจ ที่ดำาเนินการโดยเป ดเผย  พระยามโนฯ กับหลวงประดิษฐ์ฯ ในทางการเมืองและเรื่องที่ขัดกันอย่างสำาคั

 และถูกต้องโดยกฎหมายนั้นก็คือการเตรียมตัวสู่สนามเลือกตั้ง  จ งเป นเรื่องของการตั้งสมาคมการเมืองหรือสมาคมคณะราษฎร ที่จะเป น
                   องค์กรการเมืองที่สำาคั ของคณะราษฎรหรือ  ายของหลวงประดิษฐ์ฯ ที่จะใช้
                   ในการแสวงหาความชอบธรรมในกระบวนการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

                   ครั้งแรก ที่จะต้องเกิดข ้นในป  พ.ศ. 2476 นั่นเอง
   243   244   245   246   247   248   249   250   251   252   253