Page 243 - kpiebook65056
P. 243

242          ผู้  นร   รสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว                                                                                        243



                        แต่การขัดแย้งระหว่างสภาฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากสมาชิก                           ให้แจ้งข้าราชการที่เป นสมาชิกสมาคมคณะราษฎรให้ลาออกจากสมาชิกภาพ
                สภาฯ ที่เป นผู้ก่อการฯ ก็ไม่ได้มีปราก ให้เห็นในสภาฯ แต่อย่างไร จนถ ง                  ของสมาคมโดยพระยานิติศาสตร์ฯ ตั้ง ัตติถามว่า การกระทำาเช่นนี้ของ

                เดือนกุมภาพันธ์ เมื่อสมาชิกสภาฯ อย่างนายจรู  สืบแสงทวงถามเรื่อง                       รัฐบาลจะขัดกับรัฐธรรมนู หรือไม่ การยื่น ัตติครั้งนั้น พระยานิติศาสตร์ฯ
                แผนจัดการเศรษฐกิจของรัฐบาล โดยนายจรู อาจใช้คำาพูดที่รุนแรงอยู่บ้าง                    มีสำาเนาเอกสารทางราชการยื่นไปด้วย 2 ชิ้น ในวันนั้นไม่ได้มีการอภิปราย
                แต่ในการประชุมสภาฯ ครั้งนั้นและในครั้งต่อ   มา การอภิปรายเรื่องเค้าโครง               กันมาก เพราะสมาชิกสภาฯ ยังได้รับเอกสารไปอ่านกันได้เล็กน้อย

                เศรษฐกิจก็ไม่ได้มีการซักหรือแถลงโต้ตอบกันอย่างรุนแรงแต่อย่างใด การที่                 พระยาปรีดาน เบศร์ จ งได้เสนอให้เลื่อนไปพิจารณาครั้งต่อไป โดยขอเวลา
                ต่อมารัฐบาลของพระยามโนฯ ได้ออกพระราชก ษฎีกาป ดสภาฯ และได้ยก                           ไปอ่านเอกสารเสียก่อน ทางสภาฯ จ งได้มีมติเลื่อนการพิจารณา และต่อมา

                เอาเรื่องเค้าโครงเศรษฐกิจมาเป นสาเหตุสำาคั ของการป ดสภาฯ นั้นจ งเป น                  นำามาอภิปรายกันมากจนถ งขั้นลงมติลับ ผลคือเสียงข้างมากเห็นว่ารัฐบาล
                เรื่องที่มีความขัดแย้งที่เกิดข ้นนอกสภาฯ มากกว่า ดังปราก ได้ชัดเจนว่าเมื่อ            ทำาไม่ได้
                รัฐบาลรับเอาเค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มาแล้ว ก็ได้นำาเข้าพิจารณา                         ที่ว่าเรื่องการตั้งสมาคมการเมืองของคณะราษฎรนี้เป นเรื่องสำาคั

                ในที่ประชุมของคณะรัฐมนตรีโดยมีการถกแถลงกันมาก จ งต้องไปตั้งกรรมการ                    เพราะเป นเรื่องที่อยู่ในแผนการดำาเนินการในภาพให ่ของคณะราษฎร
                ข ้นมาพิจารณาข้างนอกคณะรัฐมนตรี ก่อนที่จะกลับมาเสนอคณะรัฐมนตรี                        เลยทีเดียว จะมีการพูดให้เข้าใจกันในบรรดาสมาชิกคณะราษฎรก่อนวันที่

                อีกครั้ง เมื่อคณะกรรมการมีมติเห็นชอบกับเค้าโครงเศรษฐกิจแล้ว จ งได้นำา                 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 หรือไม่ มิได้มีการยืนยันไว้ แต่ในการดำาเนินงาน
                กลับไปที่คณะรัฐมนตรีอีกครั้งหน ่ง เวลาที่ถกเถียงกันก็อยู่ในเดือนมีนาคม                เพื่อให้คณะราษฎรเป นองค์กรการเมืองที่เป ดเผยนั้น ได้มีมาตั้งแต่ต้นหลัง
                พ.ศ. 2475 ดังนั้นการที่เค้าโครงเศรษฐกิจถูกยกมาอ้าวว่าเป นความขัดแย้ง                  เปลี่ยนแปลงการปกครอง ดังจะเห็นได้ว่า ในวันเดียวกันกับที่มีการประกาศใช้

                ระหว่างรัฐบาลกับสภาฯ จ ง  งดูแปลกมาก จนทำาให้เชื่อได้ว่าที่จริงน่าจะมี                ธรรมนู การปกครองฯ คือวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นายสงวน ตุลารักษ์
                เหตุอื่น หรือไม่ก็เป นความขัดแย้งในคณะรัฐบาลเอง
                                                                                                      สมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้เป นนักกฎหมาย ได้เดินทางไปปาฐกถาที่

                        ก่อนหน้านั้นเรื่องสำาคั ที่มีความเห็นขัดแย้งกันมากนอกสภาฯ                     โรงเรียนกฎหมายของกระทรวงยุติธรรม คือ โรงเรียนเก่าของนายสงวนนั่นเอง
                ก่อนแล้ว และได้มาเข้าสภาฯ เมื่อกลางเดือนมีนาคม พ.ศ. 2475 ได้แก่                       เป นแห่งแรก เพื่อชี้แจงให้ทราบถ งวัตถุประสงค์ของคณะราษฎร และเชิ ชวน

                เรื่องการดำารงอยู่หรือการยกเลิกสมาคมคณะราษฎร อันเป นความพยายาม                        ให้ผู้คนเข้าเป นสมาชิกคณะราษฎร โดยให้ร่วมลงชื่อได้ นับเป นการเป ดตัว
                ที่จะเหนี่ยวรั้งไม่ให้สมาคมการเมืองหรือพรรคการเมืองของคณะราษฎร                        หาสมาชิกเพิ่มเติมให้คณะราษฎร ซ ่งเป นเสมือนองค์กรการเมืองของ
                ผู้ที่ร่วมเปลี่ยนแปลงการปกครองฯ ได้ดำารงอยู่และพัฒนาสืบต่อไป ที่บอกว่า                คณะผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองฯ มาก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง

                เข้าสภาฯ กลางเดือนมีนาคมนั้น เพราะมีในรายงานการประชุมสภาครั้งที่ 57                   แล้ว มีข้อน่าสังเกตถ งชื่อคณะราษฎร ว่าน่าจะมีที่มาจากพรรคการเมือง
                ในวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2475 พระยานิติศาสตร์ฯ สมาชิกสภาฯ ผู้ซ ่งมี                    ของตุรกีก็ได้ พรรคการเมืองของ เคมาล ปาชา หัวหน้าคณะป ิวัติตุรกี

                ตำาแหน่งเป นนายกสภากรรมการของสมาคมคณะราษฎร ได้นำาเรื่องที่ทาง                         ซ ่งเป นนายทหารที่นำากำาลังเข้าย ดอำานาจสุลต่านของจักรวรรดิออตโตมาน
                กระทรวงต่าง   โดยปลัดกระทรวงมีหนังสือถ งหน่วยงานของรัฐในกระทรวง                       ในการป ิวัติของตุรกี ป คริสตศักราช 1911 นั้น มีพรรคการเมืองชื่อ
   238   239   240   241   242   243   244   245   246   247   248