Page 216 - kpiebook65021
P. 216
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
ตำรำง 7.15 ข้อมูลร้อยละสิ่งที่สามารถท าได้เพื่อส่วนรวมของกลุ่มผู้น าท้องถิ่น (สมาชิก อบต. สมาชิกเทศบาล
ผู้บริหารท้องถิ่น ผู้ปกครองท้องที่)
ล ำดับ หมวดหมู่ จ ำนวน ร้อยละ
1 มีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน 65 22.11
2 ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ 62 21.09
3 ช่วยดูแลชุมชน/พัฒนาชุมชน 50 17.01
4 เป็นกระบอกเสียง/ประสานงานกิจกรรมต่าง ๆ 43 14.63
5 รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 19 6.46
6 การช่วยเหลือกันในชุมชน 16 5.44
7 ไม่สร้างความเดือดร้อน 14 4.76
8 รักษาความสะอาดพื้นที่ชุมชน 10 3.40
9 รักษาสุขภาพ 9 3.06
10 มีความสามัคคีกันในชุมชน รับฟังความคิดเห็น เคารพสิทธิ 6 2.04
7.3 กลุ่มสื่อมวลชนท้องถิ่น และกลุ่มภำคประชำสังคมในท้องถิ่น (สมำชิกสภำองค์กรชุมชน สมำชิกสภำเกษตร
กลุ่ม NGOs)
7.3.1 สภำพพื้นที่ของจังหวัดจันทบุรีในอดีต
จากค าถามที่ว่า “อดีตที่ผ่านมา พื้นที่ของท่านเป็นอย่างไร” พบว่า จากข้อมูลการสัมภาษณ์ กลุ่ม
สื่อมวลชนท้องถิ่น และกลุ่มภาคประชาสังคมในท้องถิ่น (สมาชิกสภาองค์กรชุมชน สมาชิกสภาเกษตร กลุ่ม
NGOs) ได้กล่าวถึงอดีตในพื้นที่โดยรวมของจังหวัดจันทบุรี โดยกลุ่มนี้ได้มีการแสดงความคิดเห็นใน 9 ประเด็น
โดย 3 ประเด็นแรกที่ผู้ตอบให้ความส าคัญมากที่สุดตามล าดับ ได้แก่
1) ระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน
2) การประกอบอาชีพ
3) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
191