Page 214 - kpiebook65021
P. 214
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
ล ำดับ หมวดหมู่ จ ำนวน ร้อยละ
18 สิทธิหน้าที่ของประชาชน 4 1.31
19 เด็ก เยาวชน และคนรุ่นใหม่ 3 0.98
20 งบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3 0.98
21 พื้นที่สาธารณะ 2 0.66
22 ผู้สูงอายุ 1 0.33
7.2.6 สิ่งที่ห่วงกังวลมำกที่สุดต่อภำพอนำคตที่อยำกจะเห็น
จากค าถามที่ว่า “อะไรที่ท่านห่วงกังวลมากที่สุด จะท าให้สิ่งที่ใฝ่ฝันเป็นไปไม่ได้” พบว่า จากข้อมูล
การสัมภาษณ์ กลุ่มผู้น าท้องถิ่น (สมาชิก อบต. สมาชิกเทศบาล ผู้บริหารท้องถิ่น ผู้ปกครองท้องที่) ได้
กล่าวถึงสิ่งที่ห่วงกังวลในพื้นที่โดยรวมของจังหวัดจันทบุรี โดยกลุ่มนี้ได้มีการแสดงความคิดเห็นใน 22 ประเด็น
โดย 3 ประเด็นแรกที่ผู้ตอบให้ความส าคัญมากที่สุดตามล าดับ ได้แก่
1) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2) การท างานของหน่วยงานในพื้นที่
3) การประกอบอาชีพ
ตำรำง 7.14 ข้อมูลร้อยละความห่วงกังวลของกลุ่มผู้น าท้องถิ่น (สมาชิก อบต. สมาชิกเทศบาล ผู้บริหารท้องถิ่น
ผู้ปกครองท้องที่)
ล ำดับ หมวดหมู่ จ ำนวน ร้อยละ
1 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 39 12.26
2 การท างานของหน่วยงานในพื้นที่ 33 10.38
3 การประกอบอาชีพ 32 10.06
4 ผู้น า 28 8.81
5 สุขภาพ 25 7.86
6 เศรษฐกิจ 23 7.23
7 ความสัมพันธ์ของคนในพื้นที่ 20 6.29
8 งบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 19 5.97
9 ภัยธรรมชาติ ภัยพิบัติ ภัยจากสัตว์ป่า ภัยอื่น ๆ 15 4.72
10 การพัฒนาโดยชุมชนพื้นที่ 14 4.40
189