Page 215 - kpiebook65021
P. 215
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
ล ำดับ หมวดหมู่ จ ำนวน ร้อยละ
11 ยาเสพติด/อบายมุข 12 3.77
12 เด็ก เยาวชน และคนรุ่นใหม่ 10 3.14
13 การพัฒนาด้านความทันสมัยและเทคโนโลยี 9 2.83
14 ระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน 8 2.52
15 คุณภาพชีวิต 7 2.20
16 ความสะอาด ภูมิทัศน์ 6 1.89
17 ประชากร 6 1.89
18 วัฒนธรรมและภูมิปัญญา 5 1.57
19 การศึกษา 3 0.94
20 การท่องเที่ยวและสถานที่ส าคัญ 2 0.63
21 สิทธิหน้าที่ของประชาชน 1 0.31
22 ผู้สูงอายุ 1 0.31
7.2.7 สิ่งที่สำมำรถท ำได้เพื่อส่วนรวม
จากค าถามที่ว่า “สิ่งที่สามารถท าได้เพื่อส่วนรวม” พบว่า จากข้อมูลการสัมภาษณ์ กลุ่มผู้น าท้องถิ่น
(สมาชิก อบต. สมาชิกเทศบาล ผู้บริหารท้องถิ่น ผู้ปกครองท้องที่) ได้กล่าวถึงสิ่งที่สามารถท าได้เพื่อพื้นที่ของ
จังหวัดจันทบุรี โดยกลุ่มนี้ได้มีการแสดงความคิดเห็นใน 10 ประเด็น โดย 3 ประเด็นแรกที่ผู้ตอบให้ความส าคัญ
มากที่สุดตามล าดับ ได้แก่
1) มีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน
2) ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่
3) ช่วยดูแลชุมชน/พัฒนาชุมชน
190