Page 220 - kpiebook65021
P. 220
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
7.3.5 อนำคตจังหวัดจันทบุรีที่ต้องกำรจะเห็นในอีกยี่สิบปีข้ำงหน้ำ
จากค าถามที่ว่า “อีก 20 ข้างหน้า ท่านอยากเห็นพื้นที่ของท่านเป็นอย่างไร”พบว่า จากข้อมูลการ
สัมภาษณ์กลุ่มสื่อมวลชนท้องถิ่น และกลุ่มภาคประชาสังคมในท้องถิ่น (สมาชิกสภาองค์กรชุมชน สมาชิกสภาเกษตร
กลุ่ม NGOs) ได้กล่าวถึงสิ่งที่อยากเห็นในอีก 20 ปีข้างหน้าของจังหวัดจันทบุรี โดยกลุ่มนี้ได้มีการแสดง
ความคิดเห็นใน 13 ประเด็น โดย 3 ประเด็นแรกที่ผู้ตอบให้ความส าคัญมากที่สุดตามล าดับ ได้แก่
1) การประกอบอาชีพ
2) ระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน
3) คุณภาพชีวิต
ตำรำง 7.20 ข้อมูลร้อยละในยี่สิบปีข้างหน้าที่กลุ่มสื่อมวลชนท้องถิ่น และกลุ่มภาคประชาสังคมในท้องถิ่น
(สมาชิกสภาองค์กรชุมชน สมาชิกสภาเกษตร กลุ่ม NGOs) อยากเห็นในพื้นที่
ล ำดับ หมวดหมู่ จ ำนวน ร้อยละ
1 การประกอบอาชีพ 4 13.33
2 ระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน 4 13.33
3 คุณภาพชีวิต 4 13.33
4 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3 10.00
5 ความสัมพันธ์ของคนในพื้นที่ 3 10.00
6 เศรษฐกิจ 2 6.67
7 สุขภาพ 2 6.67
8 ความสะอาด ภูมิทัศน์ 2 6.67
9 การท่องเที่ยวและสถานที่ส าคัญ 2 6.67
10 การท างานของหน่วยงานในพื้นที่ 1 3.33
11 การพัฒนาด้านความทันสมัยและเทคโนโลยี 1 3.33
12 วัฒนธรรมและภูมิปัญญา 1 3.33
13 เด็ก เยาวชน และคนรุ่นใหม่ 1 3.33
7.3.6 สิ่งที่ห่วงกังวลมำกที่สุดต่อภำพอนำคตที่อยำกจะเห็น
จากค าถามที่ว่า “อะไรที่ท่านห่วงกังวลมากที่สุด จะท าให้สิ่งที่ใฝ่ฝันเป็นไปไม่ได้” พบว่า จากข้อมูล
การสัมภาษณ์กลุ่มสื่อมวลชนท้องถิ่น และกลุ่มภาคประชาสังคมในท้องถิ่น (สมาชิกสภาองค์กรชุมชน สมาชิก
195