Page 18 - kpiebook65019
P. 18
17
มีฐานในทางกฎหมายในการเคลื่อนไหวได้อย่างต่อเนื่อง
ด้วยเหตุดังนั้น ในการวิเคราะห์การบังคับใช้รัฐธรรมนูญในส่วนที่เกี่ยวกับ
สิทธิชุมชน ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม จึงไม่อาจที่จะศึกษาวิเคราะห์การบังคับใช้ด้วย
การพิจารณาเฉพาะบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับ “สิทธิชุมชน” ที่ปรากฏในมาตราต่าง ๆ
ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ฉบับพุทธศักราช 2550 และ
ฉบับพุทธศักราช 2540 แต่เพียงอย่างเดียว แต่จะต้องศึกษำกระบวนกำรเคลื่อนไหว
ของขบวนสิทธิชุมชนที่รัฐธรรมนูญฉบับต่ำง ๆ มีส่วนช่วยในกำรเปิดพื้นที่ในทำง
โครงสร้ำงทำงกำรเมืองและทำงสังคม เพื่อจะสำมำรถน�ำไปสู่กำรจัดท�ำข้อเสนอ
ในกำรจัดท�ำรัฐธรรมนูญ (โดยกำรแก้ไขเพิ่มเติม) ที่ก�ำลังด�ำเนินกำรเป็นญัตติ
เสนอร่ำงแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2560 ในขณะนี้
และจากการติดตามการยื่นญัตติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2560 ของพรรคการเมืองต่าง ๆ ในขณะนี้ (กรกฎาคม พ.ศ. 2564) มี ร่ำงแก้ไข
รัฐธรรมนูญที่บรรจุเข้ำสู่กำรพิจำรณำมีทั้งหมด 13 ฉบับ มีญัตติที่เกี่ยวข้องกับ
กำรแก้ไขรัฐธรรมนูญในส่วนที่เกี่ยวกับสิทธิชุมชนในญัตติ ดังต่อไปนี้
การเมืองทั้งฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร ให้มีดุลยภาพและประสิทธิภาพตามวิถีการปกครอง
แบบรัฐสภา รวมทั้งให้สถาบันศาลและองค์กรอิสระอื่นสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้โดยสุจริตเที่ยงธรรม
เมื่อจัดท�าร่างรัฐธรรมนูญเสร็จแล้ว สภาร่างรัฐธรรมนูญได้เผยแพร่ให้ประชาชนทราบและจัดให้
มีการออกเสียงประชามติเพื่อให้ความเห็นชอบแก่ร่างรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ การออกเสียงลงประชามติ
ปรากฏผลว่า ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งโดยเสียงข้างมากของผู้มาออกเสียงประชามติเห็นชอบให้น�า
ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่มาใช้บังคับ ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติจึงน�าร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้า
ทูลกระหม่อมถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย ให้ประกาศใช้เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
สืบไป ทรงพระราชด�าริว่าสมควรพระราชทานพระบรมราชานุมัติตามมติของมหาชน..........”