Page 17 - kpiebook65019
P. 17

16   ประเด็นส�ำคัญที่พึงมีและควรแก้ไขตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2560 :
          สิทธิชุมชน ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม


                และในท�านองเดียวกัน แม้จะมีการล้มล้างรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2540
        ในปี พ.ศ. 2549 ก็มีการจัดท�ารัฐธรรมนูญโดยกระบวนการสภาร่างรัฐธรรมนูญ จึงท�าให้

        กระบวนการจัดท�ารัฐธรรมนูญเกิดการประเมินข้อจ�ากัดของการเมืองภาคพลเมือง
        และปรับหลักการ กลไก และกระบวนการต่าง ๆ ในหมวดที่ว่าด้วยสิทธิและเสรีภาพ

        ของประชาชน หมวดที่ว่าด้วยหน้าที่และแนวนโยบายแห่งรัฐ และในหมวดที่ว่าด้วย
        การกระจายอ�านาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ความส�าคัญกับบทบาทและการมีส่วนร่วม

                                    3
        ในทางการเมืองของภาคประชาชน  จึงท�าให้การเคลื่อนไหวของการเมืองภาคพลเมือง
        3  ค�าปรารภ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
            “ศุภมัสดุ พระพุทธศาสนกาลเป็นอดีตภาค ๒๕๕๐ พรรษา ปัจจุบันสมัย จันทรคตินิยม
        สูกรสมพัตสร สาวนมาส ชุณหปักษ์ เอกาทสีดิถี สุริยคติกาล สิงหาคมมาส จตุวีสติมสุรทิน
        ศุกรวาร โดยกาลบริเฉท

            พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร
        สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ประกาศว่าประธาน
        สภานิติบัญญัติแห่งชาติได้น�าความกราบบังคมทูลว่า การปกครองของประเทศไทยในระบอบ
        ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขได้ด�าเนินวัฒนามากว่าเจ็ดสิบห้าปี ตลอดระยะเวลา
        ที่ผ่านมา ได้มีการประกาศใช้ ยกเลิก และแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญหลายครั้ง เพื่อให้เหมาะสมแก่
        สภาวการณ์ของบ้านเมืองและกาลสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป และโดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
        (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ ได้บัญญัติให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญและคณะกรรมาธิการยกร่าง
        รัฐธรรมนูญขึ้น มีหน้าที่จัดท�าร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ทั้งฉบับส�าหรับเป็นแนวทางการปกครอง
        ประเทศ โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวางทุกขั้นตอนและน�าความคิดเห็น
        เหล่านั้นมาเป็นข้อค�านึงพิเศษในการยกร่างและพิจารณาแปรญัตติโดยต่อเนื่อง

            ร่างรัฐธรรมนูญฉบับที่จัดท�าใหม่นี้มีสาระส�าคัญเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันของประชาชน
        ชาวไทย ในการธ�ารงรักษาไว้ซึ่งเอกราชและความมั่นคงของชาติ การท�านุบ�ารุงรักษาศาสนา
        ทุกศาสนาให้สถิตสถาพร การเทิดทูนพระมหากษัตริย์เป็นประมุขและเป็นมิ่งขวัญของชาติ
        การยึดถือระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเป็นวิถีทางในการปกครอง
        ประเทศ กำรคุ้มครองสิทธิและเสรีภำพของประชำชน ให้ประชำชนมีบทบำทและมีส่วนร่วม
        ในกำรปกครองและตรวจสอบกำรใช้อ�ำนำจรัฐอย่ำงเป็นรูปธรรม การก�าหนดกลไกสถาบันทาง
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22