Page 822 - kpiebook65012
P. 822

822



        และ หน่วยกำรปกครองท้องถิ่นในระดับอื่น ๆ นอกจำกนี้ กำรศึกษำ
        กำรเมืองนครในส่วนของอ�ำนำจหน้ำที่ของหน่วยกำรปกครองมีควำมส�ำคัญ

        เพรำะท�ำให้เรำประเมินทั้งควำมคำดหวังของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง และ
        ท�ำงำนจริงเมื่อรับต�ำแหน่งแล้ว




        15.2 แนวทางการศึกษาพฤติกรรมการเลือกตั้ง

        ในเขตนครและมหานคร

                 ในส่วนของกำรส�ำรวจแนวทำงกำรศึกษำพฤติกรรมกำรเลือกตั้ง

        ในเขตนครและมหำนครนี้ ได้พัฒนำขึ้นจำกกำรส�ำรวจของ Kaufmann
        (2004) และจะได้น�ำเสนอแนวคิดในเรื่องกำรเลือกตั้งในเขตนครและ

        มหำนครในส่วนท้ำย


                 1. ทฤษฎีว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง (Theories
        of Voting)

                 แนวคิดที่ส�ำคัญในเรื่องกำรเลือกตั้งนั้นได้รับอิทธิพล
        ทำงสังคมวิทยำ โดยเฉพำะแนวคิดทำงสังคมวิทยำต่อพฤติกรรม

        กำรลงคะแนนเสียง (sociological approace to voting behavior)
        ที่มองว่ำ ควำมแบ่งแยก/แตกแยกทำงกำรเมือง (political cleavage) นั้น
        เป็นผลมำจำกกำรรวมกลุ่มทำงสังคมต่ำง ๆ ซึ่งหมำยถึง กำรรวมกลุ่ม

        ในแบบทุติยภูมิ และกำรรวมกลุ่มแบบทุติยภูมิหล่ำนี้ก็แปรร่ำงไปเป็น
        กลุ่มทำงกำรเมือง (partisan groups) ควำมแบ่งแยกทำงสังคม

        ที่มีนัยยะทำงกำรเมืองที่ส�ำคัญสำมประกำร ได้แก่ 1) อำชีพ รำยได้ และ
   817   818   819   820   821   822   823   824   825   826   827