Page 709 - kpiebook65012
P. 709

การเลือกตั้งท้องถิ่นในกรุงเทพมหานครจากอดีตถึงการครองอ�านาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
         บทส�ารวจประเด็นการเมืองในมิติของการเลือกตั้งท้องถิ่นและปัญหาการพัฒนากรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2518-2565)  709


          รณรงค์ และที่ส�ำคัญคือ พล.ต.อ.พงศพัศ พงษ์เจริญ ในฐำนะผู้สมัคร
          รับเลือกตั้ง มีจุดแข็งในเรื่องของกำรท�ำกำรตลำดแบบดึงดูด (Pull

          Marketing) ในกำรช่วงชิงพื้นที่บนสื่อมวลชนได้อย่ำงโดดเด่น โดยใช้
          ควำมสำมำรถเฉพำะตัวในกำรก�ำหนดวำระข่ำวสำร (Agenda Setting)
          เพื่อน�ำเสนอตัวเองได้อย่ำงมีสีสันตลอดระยะเวลำกำรรณรงค์หำเสียง

          เลือกตั้ง และแม้ว่ำ พล.ต.อ.พงศพัศ จะไม่ได้รับกำรเลือกตั้งในครั้งนี้
          มณฑำทิพย์ ชินวัตร (2557) ก็เสนอว่ำชัยชนะในกำรรณรงค์หำเสียงเลือกตั้ง

          ผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนครในครั้งต่อไป ควรจะประกอบด้วยองค์ประกอบ
          5 ประกำร (แม้ว่ำในแต่ละครั้งอำจจะไม่มีสูตรส�ำเร็จทำงกำรเมือง) ได้แก่
          1. กำรค�ำนึงถึงผลกระทบจำกบริบททำงกำรเมืองที่มีควำมขัดแย้ง กับ

          กำรวำงแผนกำรรณรงค์หำเสียงเลือกตั้ง 2. กำรรณรงค์หำเสียงเชิงบวก
          (positive campaign) ภำยใต้สภำพแวดล้อมที่ขัดแย้ง 3. กำรรักษำ

          ฐำนคะแนนเดิมไว้ และกำรสร้ำงฐำนคะแนนเพิ่ม 4. กำรใช้พลังทำง
          กำรตลำดในกำรสร้ำงควำมผูกพันต่อพรรคเพื่อไทย และ 5. ทักษะใน
          กำรสื่อสำรทำงกำรเมืองของผู้สมัครรับเลือกตั้ง มีควำมส�ำคัญมำกกว่ำ

          งบประมำณที่ใช้ในกำรรณรงค์ ทั้งนี้ยังรวมไปถึง ศักยภำพในกำรตอบโต้
          ของผู้สมัครรับเลือกตั้งและพรรคกำรเมือง ที่จะท�ำกำรโต้ตอบกับ

          ฝ่ำยตรงข้ำมให้ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ถือว่ำเป็นปัจจัยส�ำคัญด้วย
          เช่นเดียวกัน ดังนั้น หำกผู้สมัครรับเลือกตั้งได้มีกำรน�ำเอำองค์ควำมรู้ใหม่
          ที่สกัดได้จำกกำรวิจัยในครั้งนี้ มำประยุกต์ใช้ในกำรรณรงค์ ก็จะเป็นผล

          ดีต่อกำรรณรงค์หำเสียงเลือกตั้งในอนำคตได้
   704   705   706   707   708   709   710   711   712   713   714