Page 187 - kpiebook63019
P. 187
182
การประเมินผลการด าเนินงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)
ส่วนที่ 4: ความโปร่งใสและการเข้าถึงได้ของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และ ความส านึกรับผิดชอบ
ของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ค าชี้แจง : โปรดท าเครื่องหมาย หรือ ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุด
4.1 ความโปร่งใสและการเข้าถึงได้ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
** หมายเหตุ ความโปร่งใส หมายถึง ความชัดเจนในการท างาน การเปิดเผยข้อมูล การไม่มีนอก-ไม่มีใน
การตรงไปตรงมา การเข้าถึงได้ หรือ เป็นเรื่องที่ทุก ๆ ภาคส่วนสามารถติดต่อกับสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้
และสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้
ระดับความคิดเห็น
ข้อที่ ข้อความ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ไม่มี ไม่ หมายเหตุ
ที่สุด (4) กลาง (2) ที่สุด เลย ทราบ
(5) (3) (1) (0) (99)
1 สื่อและสังคมสามารถรับทราบผลการประชุม
ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติและคณะกรรมาธิการ
2 ผู้สื่อข่าวมีความเป็นอิสระในการน าเสนอข่าว
เกี่ยวกับการด าเนินงานของสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
3 สภานิติบัญญัติแห่งชาติให้ข้อมูลเกี่ยวกับการ
ด าเนินงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ผ่านสื่อช่องทางต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิผล
4 ความเหมาะสมของจ านวนช่องทางที่ให้ข้อมูล
เกี่ยวกับการด าเนินงานของสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติต่อสาธารณะ
5 ความเหมาะสมของการให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
การด าเนินงานของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ต่อสาธารณะ
6 สภานิติบัญญัติแห่งชาติประสบความส าเร็จ
ในการดึงดูดให้เยาวชนใส่ใจในงานของ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติอย่างกว้างขวาง
7 ประชาชนทั่วไปในเขตตัวเมือง สามารถเสนอ
ความคิดเห็นและปัญหาโดยตรงกับ
สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้
8 ประชาชนทั่วไปในเขตชนบท สามารถเสนอ
ความคิดเห็นและปัญหาโดยตรงกับ
สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้
9 ประชาชนสามารถร้องทุกข์กับคณะกรรมาธิการ
ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้สะดวก
10 ประชาชนทั่วไปมีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วม
ในกระบวนการนิติบัญญัติโดยตรง (อาทิ การริเริ่ม
เสนอกฎหมาย การลงประชามติ เป็นต้น)
ภาคผนวก -13
การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)