Page 183 - kpiebook63019
P. 183
178
การประเมินผลการด าเนินงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)
ระดับความคิดเห็น
ข้อที่ ข้อความ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ไม่มี ไม่ หมายเหตุ
ที่สุด (4) กลาง (2) ที่สุด เลย ทราบ
(5) (3) (1) (0) (99)
9 กระบวนการคัดเลือก / มาตรฐานการคัดเลือก
ผู้ช่วยด าเนินงาน ผู้ช านาญการ ผู้เชี่ยวชาญ และ
ที่ปรึกษาของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
มีความเหมาะสม
10 โดยภาพรวม คุณสมบัติของผู้ช่วยด าเนินงาน
ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ช านาญการ หรือที่ปรึกษาของ
สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีความเหมาะสม
11 ปัจจัยสนับสนุน ส่งเสริมในการท างานของ
สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ให้เกิด
ประสิทธิภาพ (เช่น งานวิจัย สารสนเทศ และ
สิ่งอ านวยความสะดวกอื่น ๆ) มีความเหมาะสม
12 ส านักงานเลขาธิการวุฒิสภา ปฏิบัติหน้าที่
ฝ่ายเลขานุการมีคณะผู้เชี่ยวชาญในแต่ละด้าน
ที่สามารถให้ความเห็นได้ทันทีในการอภิปราย
ต่าง ๆ แก่สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
13 บุคลากรและหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและ
เอกชนสามารถเข้ามาชี้แจงให้ข้อมูลกับ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยไม่มีการแทรกแซงจากฝ่ายใด นั้น
มีความเพียงพอ
14 สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้ให้เกียรติและ
ปฏิบัติอย่างเหมาะสมกับบุคลากรและผู้แทน
หน่วยงานต่าง ๆ ที่เข้ามาชี้แจงในระดับที่
เหมาะสม
15 ระบบการให้บุคลากรและหน่วยงานเข้า
ไปชี้แจง
มีความเหมาะสม
16 ระบบตรวจสอบการท าหน้าที่ของประธาน
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทั้งในระหว่างการท างาน
และระหว่างการประชุมมีความเหมาะสม
17 กระบวนการพิจารณา การตรวจสอบ และ
การจัดสรรงบประมาณของสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติ มีความโปร่งใส
ภาคผนวก -9
การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)