Page 180 - kpiebook63019
P. 180

175

                                    การประเมินผลการด าเนินงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)


               2.2 การท าหน้าที่ด้านนิติบัญญัติ
               **หมายเหตุ นิติบัญญัติ หมายถึง การท าหน้าที่ด้านการออกกฎหมาย พิจารณากฎหมาย และกลั่นกรอง
               กฎหมายต่าง ๆ

                                                                   ระดับความคิดเห็น

           ข้อที่               ข้อความ                  มาก   มาก  ปาน   น้อย  น้อย  ไม่มี  ไม่    หมายเหตุ
                                                         ที่สุด   (4)  กลาง  (2)   ที่สุด   เลย  ทราบ
                                                         (5)         (3)        (1)   (0)   (99)
            1     การอภิปรายร่างกฎหมายในสภานิติบัญญัติ
                  แห่งชาติ สามารถท าได้อย่างกว้างขวางทั่วถึง
            2     การพิจารณาร่างกฎหมายและการแปรญัตติ
                  ของคณะกรรมาธิการสามารถกระท าได้อย่างมี
                  ประสิทธิภาพ

            3     คณะกรรมาธิการมีความรู้ความสามารถ
                  ในการปฏิบัติหน้าที่ของตน
            4     กระบวนการนิติบัญญัติมีความโปร่งใส และ
                  เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียเข้ามามีส่วนร่วมได้
            5      สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ตามจ านวน
                   ขั้นต่ าที่รัฐธรรมนูญก าหนด สามารถเข้าชื่อ

                   เสนอกฎหมายเข้าสู่สภาได้
            6     สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สามารถตรากฎหมาย
                  ที่กระชับ ชัดเจน และเป็นที่เข้าใจได้
            7     กฎหมายที่ผ่านการกลั่นกรองจาก
                  สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เกิดประโยชน์กับ
                  ประชาชนโดยรวมอย่างทั่วถึง
            8     สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ท าให้มั่นใจว่า

                  ได้ตรากฎหมายได้สอดคล้องกับบทบัญญัติ
                  ในรัฐธรรมนูญและหลักสิทธิมนุษยชน
            9     สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้กลั่นกรองกฎหมายโดยให้
                  ความส าคัญกับประเด็นความเท่าเทียมกันทางเพศ
            10    สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้กลั่นกรองกฎหมาย
                  โดยยึดความต้องการของประชาชนเป็นหลัก

            11    สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีกระบวนการที่เอื้อ
                  ต่อการให้ร่างกฎหมายที่เสนอโดยประชาชน
                  เข้าสู่การพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
                  ได้อย่างรวดเร็ว
            12    สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ใช้เวลาออกกฎหมาย
                  แต่ละฉบับ อย่างเหมาะสม
            13    สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ใช้งบประมาณ
                  ในการออกกฎหมายแต่ละฉบับได้อย่างเหมาะสม




                                                       ภาคผนวก -6
            การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185