Page 182 - kpiebook63019
P. 182
177
การประเมินผลการด าเนินงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)
ส่วนที่ 3: การตรวจสอบฝ่ายบริหาร
และการมีส่วนร่วมในนโยบายระหว่างประเทศของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ค าชี้แจง : โปรดท าเครื่องหมาย หรือ ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุด
3.1 การตรวจสอบฝ่ายบริหาร
**หมายเหตุ ฝ่ายบริหาร หมายถึง รัฐบาลและข้าราชการ ตลอดจนหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
โดยเฉพาะหน่วยงานที่ท าหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน
ระดับความคิดเห็น
ข้อที่ ข้อความ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ไม่มี ไม่ หมายเหตุ
ที่สุด (4) กลาง (2) ที่สุด เลย ทราบ
(5) (3) (1) (0) (99)
1 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีกระบวนการตั้งกระทู้
ถามและการได้มาซึ่งข้อมูลจากฝ่ายบริหาร
อย่างเป็นระบบและมีความเป็นไปได้
2 ประสิทธิภาพในการตรวจสอบการท างานของ
ฝ่ายบริหารโดยกรรมาธิการสามัญและวิสามัญ
ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
3 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สามารถเข้าไปโน้มน้าว
หรือตรวจสอบการจัดท างบประมาณแผ่นดินใน
ทุกขั้นตอนได้ดี
4 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้กลั่นกรอง และ
ตรวจสอบการแต่งตั้งและความรับผิดชอบ
ในการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ายบริหารและ
ข้าราชการระดับสูงบางต าแหน่งได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
5 สภานิติบัญญัติแห่งชาติได้กลั่นกรอง และ
ตรวจสอบการแต่งตั้งและความรับผิดชอบ
ในการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรอิสระตาม
รัฐธรรมนูญอย่างมีประสิทธิภาพ
6 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีความเป็นอิสระ
ในการด าเนินงาน เช่น การก าหนดและ
การควบคุมงบประมาณของตนเอง
การก าหนดวาระการประชุม การแต่งตั้งบุคลากร
7 จ านวนผู้ช่วยด าเนินงาน ผู้ช านาญการ ผู้เชี่ยวชาญ
และที่ปรึกษาประจ าตัวของสมาชิกสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติ มีความเพียงพอ
8 ผู้ช่วยด าเนินงาน ผู้ช านาญการ ผู้เชี่ยวชาญ และ
ที่ปรึกษาประจ าตัวของสมาชิกสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติ มีความเหมาะสม
ภาคผนวก -8
การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)