Page 189 - kpiebook63019
P. 189
184
การประเมินผลการด าเนินงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)
4.2 ความส านึกรับผิดชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ระดับความคิดเห็น
ข้อที่ ข้อความ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ไม่มี ไม่ หมายเหตุ
ที่สุด (4) กลาง (2) ที่สุด เลย ทราบ
(5) (3) (1) (0) (99)
1 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีการจัดการอย่างเป็น
ระบบ เพื่อให้สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
รายงานการท าหน้าที่ในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ต่อประชาชน
2 สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีจิตส านึก
รับผิดชอบต่อประชาชนทั้งประเทศ
3 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีการตรวจสอบ และ
ลงโทษเมื่อสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยประมวลจริยธรรม
4 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีกระบวนการที่แสดงถึง
ความมุ่งมั่นและกระท าการอย่างโปร่งใส
ในการป้องกันมิให้สมาชิกกระท าการที่มี
ผลประโยชน์ทับซ้อน
5 อัตราเงินเดือน ค่าตอบแทน และสิทธิประโยชน์
รวมจากการปฏิบัติงานของสมาชิกสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติ เป็นที่ยอมรับของสาธารณชน
6 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ จัดให้มีการส ารวจความ
เชื่อมั่นของประชาชนต่อรัฐสภาอย่างเป็นระบบ
7 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีข้อมูลพื้นฐาน
เพื่อแสดงถึงการท างานอย่างมีประสิทธิภาพและ
รับผิดชอบ เช่น สถิติการเข้าประชุม
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สถิติการเข้าประชุม
กรรมาธิการ สถิติการอภิปรายอย่างมีสาระ
น่าเชื่อถือของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
แต่ละท่าน สถิติการประชุมและวาระการประชุม
ของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติและกรรมาธิการ
เป็นต้น
8 กระบวนการพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติ หรือการพัฒนาเพื่อเป็นองค์กรแห่ง
การเรียนรู้ สร้างความรับผิดชอบในการปฏิบัติ
หน้าที่ เช่น การจัดสัมมนา อบรม ดูงาน เป็นต้น
มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง
ภาคผนวก -15
การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)