Page 208 - kpiebook63009
P. 208

208      การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง
                    สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดสุพรรณบุรี







                                      ตำรำง 5.21 ปัจจัยที่ท�ำให้สนับสนุนพรรคกำรเมือง


                                                          ควำมคิดเห็น

                                 มำกที่สุด  มำก    ปำนกลำง   น้อย   น้อยที่สุด ไม่ตอบ
                   ประเด็น                                                                     แปลผล
                                  จ�ำนวน   จ�ำนวน   จ�ำนวน  จ�ำนวน   จ�ำนวน   จ�ำนวน   (S.D.)
                                 (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ)

              ปัจจัยที่ทำาให้
              สนับสนุน                                                                         ปานกลาง

              พรรคการเมือง
              1. ความผูกพัน
              ศรัทธา เชื่อมั่นที่มี   23    112      128      74       57       8       2.92

              ต่อพรรคการเมือง     (5.72)   (27.86)  (31.84)  (18.41)  (14.18)  (1.99)  (1.13)

              2. ความเลื่อมใสที่                                                               ปานกลาง
              มีต่อนโยบายของ        54      106      125      65       43       9       3.16
              พรรคการเมือง        (13.43)  (26.37)  (31.09)  (16.17)  (10.70)  (2.24)  (1.18)

              3. ความชื่นชอบที่มี                                                              ปานกลาง
              ต่อตัวผู้นำา/แกนนำา   62      114      111      58       50       7       3.20

              พรรคการเมือง        (15.42)  (28.36)  (27.61)  (14.43)  (12.44)  (1.74)  (1.24)
              เฉลี่ยรวม                                                                 3.10   ปานกลาง
                                                                                       (1.09)




                      จากตาราง ประเด็นปัจจัยที่ทำาให้สนับสนุนพรรคการเมือง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเห็นถึง

             ประเด็นปัจจัยที่ทำาให้สนับสนุนพรรคการเมืองโดยเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X= 3.10) โดยลำาดับแรกคือ
             ความชื่นชอบที่มีต่อตัวผู้นำา/แกนนำาพรรคการเมือง (X= 3.20) รองลงมาคือ ความเลื่อมใสที่มีต่อนโยบายของ

             พรรคการเมือง (X= 3.16) โดยลำาดับสุดท้ายคือ ความผูกพัน ศรัทธา เชื่อมั่นที่มีต่อพรรคการเมือง (X= 2.92)


                      เมื่อพิจารณาในรายละเอียดประเด็นความผูกพัน ศรัทธา เชื่อมั่นที่มีต่อพรรคการเมือง ผู้ตอบแบบสอบถาม
             กลุ่มที่มีจำานวนมากที่สุด จำานวน 128 คน คิดเป็นร้อยละ 31.84 เห็นด้วยในระดับปานกลาง


                       ประเด็นความเลื่อมใสที่มีต่อนโยบายของพรรคการเมือง ผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มที่มีจำานวนมากที่สุด

             จำานวน 125 คน คิดเป็นร้อยละ 31.09 เห็นด้วยในระดับปานกลาง

                      ประเด็นความชื่นชอบที่มีต่อตัวผู้นำา/แกนนำาพรรคการเมือง ผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มที่มีจำานวนมากที่สุด

             จำานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 28.36 เห็นด้วยในระดับมาก
   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213