Page 204 - kpiebook63009
P. 204
204 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดสุพรรณบุรี
5. นโยบายของ 102 125 123 30 15 7 3.68 มาก
พรรคการเมือง (25.37) (31.09) (30.60) (7.46) (3.73) (1.74) (1.06)
6. เลือกตามญาติ 1 18 71 164 139 9 1.93 น้อย
เพื่อน หรือคนอื่นๆ (0.25) (4.48) (17.66) (40.80) (34.58) (2.24) (0.86)
7. เลือกเพราะได้รับ 12 30 99 139 109 13 2.22 น้อย
ประโยชน์ต่างๆ (2.99) (7.46) (24.63) (34.58) (27.11) (3.23) (1.04)
2.98
เฉลี่ยรวม ปานกลาง
(0.64)
จากตาราง ประเด็นการตัดสินใจเลือก ส.ส. พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเห็นถึงประเด็น
การตัดสินใจเลือก ส.ส. โดยเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X= 2.98) โดยลำาดับแรกคือ นโยบายของพรรคการเมือง
(X= 3.68) รองลงมาคือ พรรคการเมืองที่ผู้สมัครรับเลือกตั้งสังกัด (X= 3.45) ชื่อเสียงของหัวหน้าพรรคการเมือง
(X= 3.43) โดยลำาดับสุดท้ายคือ เลือกตามญาติ เพื่อน หรือคนอื่นๆ (X= 1.93)
เมื่อพิจารณาในรายละเอียดประเด็นความสัมพันธ์กับตัวผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ตอบแบบสอบถาม
กลุ่มที่มีจำานวนมากที่สุด จำานวน 193 คน คิดเป็นร้อยละ 48.01 เห็นด้วยในระดับปานกลาง
ประเด็นคุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้ง ผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มที่มีจำานวนมากที่สุด
จำานวน 151 คน คิดเป็นร้อยละ 37.56 เห็นด้วยในระดับมาก
ประเด็นพรรคการเมืองที่ผู้สมัครรับเลือกตั้งสังกัด ผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มที่มีจำานวนมากที่สุด
จำานวน 146 คน คิดเป็นร้อยละ 36.32 เห็นด้วยในระดับปานกลาง
ประเด็นชื่อเสียงของหัวหน้าพรรคการเมือง ผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มที่มีจำานวนมากที่สุด
จำานวน 141 คน คิดเป็นร้อยละ 35.07 เห็นด้วยในระดับปานกลาง
ประเด็นนโยบายของพรรคการเมือง ผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มที่มีจำานวนมากที่สุด
จำานวน 125 คน คิดเป็นร้อยละ 31.09 เห็นด้วยในระดับมาก
ประเด็นเลือกตามญาติ เพื่อน หรือคนอื่นๆ ผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มที่มีจำานวนมากที่สุด
จำานวน 164 คน คิดเป็นร้อยละ 40.80 เห็นด้วยในระดับน้อย
ประเด็นเลือกเพราะได้รับประโยชน์ต่างๆ ผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มที่มีจำานวนมากที่สุด
จำานวน 139 คน คิดเป็นร้อยละ 34.58 เห็นด้วยในระดับน้อย