Page 293 - kpiebook62009
P. 293

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการประเมินองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อเข้ารับรางวัลพระปกเกล้า ประจำปี 2562



                            2) การกำหนดหลักสูตร โดยใช้ผ่านการพัฒนาหลักสูตรจากภาคีเครือข่าย 25 เรื่อง (พมจ.

               รพสต. มก. กลุ่มผู้สูงอายุตำบล ฯลฯ) เรียนผ่านวิทยุ ฟังย้อนหลัง
                            3) กระบวนการผลิตสื่อ ที่จะถ่ายทอดให้เข้าถึงผู้สูงอายุ

                            4) ปัจจัยวิเคราะห์ความสำเร็จ: ได้รับรางวัล และ ได้รับการประเมินผลการเข้าถึงสื่อวิทยุ

               ของผู้สูงอายุ
                            5) การสร้างเครือข่ายที่สำเร็จ แต่ละเครือข่ายมีเป้าหมายเดียวกัน คือ “การพัฒนาคุณภาพ

               ผู้สูงอายุ” เราเสริมสร้างเครือข่าย ตั้งแต่กระบวนการต้น จน จบ ใช้เครือข่ายในการขับเคลื่อน

                            6) นักเรียนผู้สูงอายุทางอากาศ เรียนผ่านวิทยุ สิ่งที่ผู้สูงอายุได้รับ “เข้าถึงได้ง่าย” ตั้งแต่
               ด้านเรียนรู้ การพูดจา ด้านการเกษตร ด้านสังคม ฯลฯ พอเรียนจบยังได้มาเข้าร่วมเป็นดีเจจัดรายการต่อ

               ยอด

                         2. เครือข่ายพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ
                            เครือข่ายพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเป็นกิจกรรม/โครงการที่เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.

               2559 เพื่อแก้ไขปัญหาการเข้าถึงบริการ และการขาดผู้ดูแลผู้สูงอายุ/คนพิการ

                            โดยภาคีเครือข่ายที่เข้าร่วม เป็นเครือข่ายที่ขับเคลื่อนประเด็นสุขภาวะชุมชนอย่างต่อเนื่อง
               ทั้งเครือข่ายชุมชน และ เครือข่ายนอกชุมชน ได้แก่ เครือข่ายภายในชุมชน: อสม. Care Giver อาสาสมัคร

               ดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และ เครือข่ายภาคนอก: รพ.นครพิงค์ รพ.เชียงใหม่ใกล้หมอ รพสต.บ้านท่าข้าม

               เป็นวิชาชีพเฉพาะในการให้บริการ ฯลฯ
                            กระบวนการขับเคลื่อนสำคัญ ได้แก่ การส่งเสริมและพัฒนาอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ คน

               พิการ และ กระบวนการเคลื่อนเป็นวงล้อ “การเสริมสร้างสุขภาพ”

                            ระบบบริการ
                            1) การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

                            2) การฟื้นฟูสุขภาพ ปี 62 จะมีการขยายกลุ่มเป้าหมาย
                            3) การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายจิตอาสา เน้นการดูแลผู้สูงอายุเป็นหลัก มีการประชุม

               กรณีศึกษาเฉพาะราย เยี่ยมบ้านแบบทีม

                            ความโดดเด่น
                            1) เน้นการให้บริการแก่ผู้สูงอายุและคนพิการโดย “ทีมสหวิชาชีพ” และดำเนินการวางแผนให้

               ความช่วยเหลือ “การประชุมรายกรณี”

                            2) กองทุนแม่เหียะร่วมใจ (700,000 บาท) ที่ได้มาจากสถานการณ์ประกอบ ผู้มีจิศรัทธาใน
               พื้นที่

                            อัตลักษณ์ของการขับเคลื่อนเครือข่าย

                            1) CG มีกิจกรรมการดูแลผู้สูงอายุที่มีความต่อเนื่อง มีจำนวน 30 คน ปัจจุบันเหลือ 10 คน
               เป็นผู้มีจิตอาสาจริงๆ มีความเข้มข้น และ มีผลงานสะท้อนให้เห็น



                                                         252
   288   289   290   291   292   293   294   295   296   297   298