Page 45 - b28783_Fulltext
P. 45
ตารางที่ 10 แสดงจ านวนสมาชิกที่ออกไปท างานนอกภาคเกษตรและย้ายกลับมาอยู่บ้านย้ายกลับบ้านช่วง
โควิด-19
จ านวน ร้อยละ
1.ไม่มี 95.9
2. มี 4.1
จ านวน 1 คน (2.9)
จ านวน 2 คน (0.8)
จ านวน 3 คนขึ้นไป (0.4)
รวม 100.0
ตารางที่ 11 แสดงการวางแผนชีวิตของแรงงานนอกภาคเกษตรที่เดินทางกลับบ้าน
แผนชีวิต ร้อยละ
กลับไปท างานเมื่อสถานทีท างานเปิดตามปกติ 50.00
รอโอกาสให้พ้นช่วงวิกฤติและกลับไปท างานเหมือนเดิม 14.7
หาอาชีพใหม่ในชุมชนหรือใกล้เคียง โดยอาศัยอยู่ที่บ้าน 17.7
กลับมาช่วยท าการเกษตรหรือประกอบการค้าขายของครอบครัว 2.9
ยังไม่แน่ใจ ยังไม่ตัดสินใจ 14.7
รวม 100.00
3.2.3 มิติผลกระทบต่อรายได้จากเงินส่งกลับจากสมาชิกในครัวเรือน
ครัวเรือนที่ได้รับเงินส่งกลับจากลูกหลานที่เข้าไปท างานในเมืองเกือบครึ่งหรือร้อยละ 48.5 รายงาน
ว่าได้รับเงินส่งกลับที่ลดลง จ านวนเงินที่สมาชิกครัวเรือนส่งกลับบ้านในช่วงปกติคือ เฉลี่ยเดือนละ 5,309
บาท ในช่วงวิกฤติโควิด-19 ลดลงเหลือ เฉลี่ยเดือนละ 2,541 บาท หรือลดลง ราวร้อยละ 52.1 ของรายได้
ช่วงก่อนโควิด-19 โดยให้เหตุผลหลักๆ ได้แก่ ถูกเลิกจ้าง เนื่องจากปิดกิจการ ถูกพักงาน ลดเวลาการท างาน
และค่าจ้าง กลุ่มแรงงานย้ายถิ่นจึงต้องส ารองเงินไว้ใช้จ่ายส่วนตัวมากขึ้นในช่วงที่รายได้ลดลง ท าให้ส่งเงิน
กลับทางบ้านได้น้อย หรือของดการส่งเงินกลับบ้าน ในขณะที่กลุ่มที่ประกอบอาชีพค้าขายก็ไม่สามารถขาย
สินค้าได้ เนื่องจากการสั่งปิดห้างสรรพสินค้า และตลาดนัด รวมถึงมีออเดอร์สินค้าลดลง
ตารางที่ 12 แสดงการเปลี่ยนแปลงเงินส่งกลับบ้านของแรงงานนอกภาคเกษตร : จ าแนกตามลักษณะของ
ชุมชน
การเปลี่ยนแปลงของเงิน ชุมชน ชุมชนพืชเชิง ชุมชนสวนผัก รวม
ส่งกลับโดยเฉลี่ยต่อเดือน ชาวนา พาณิชย์ ผลไม้
30