Page 71 - 22825_Fulltext
P. 71
2-31
ตารางที่ 2.3 ดัชนีและตัวชี้วัดด้านหลักนิติธรรม/นิติรัฐ
ด้าน ตัวชี้วัด ค าอธิบายการวัด
1. การจ ากัดอ านาจของ 1.1 อ านาจของรัฐบาลจะต้องถูกจ ากัดโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายนิติบัญญัติมีความเป็นอิสระและความสามารถในทางปฏิบัติเพื่อ
รัฐบาล (Constraints on ตรวจสอบและก ากับดูแลรัฐบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Government Powers) 1.2 อ านาจของรัฐบาลจะต้องถูกจ ากัดโดยฝ่ายตุลาการ ฝ่ายตุลาการมีความเป็นอิสระและความสามารถในทางปฏิบัติเพื่อตรวจสอบ
และก ากับดูแลรัฐบาลอย่างมีประสิทธิภาพ
1.3 อ านาจของรัฐบาลถูกจ ากัดอย่างมีประสิทธิภาพโดยองคกร ผู้ช าระบัญชีหรือผู้สอบบัญชี รวมถึงหน่วยงานตรวจสอบทางด้านสิทธิ
ตรวจเงินแผ่นดินที่มีอิสระหรือองคกรอื่นที่มีอ านาจทบทวนการใช มนุษยชนแห่งชาติ มีความเป็นอิสระเพียงพอ และมีความสามารถในทาง
อ านาจรัฐ ปฏิบัติเพื่อตรวจสอบอย่างมีประสิทธิภาพและก ากับดูแลการท างานของ
รัฐบาล
1.4 เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องได้รับบทลงโทษหากปฏิบัติหน้าที่โดย เจ้าหน้าที่ของรัฐในฝ่ายบริหาร สภานิติบัญญัติ ตุลาการ และต ารวจ ได้รับ
มิชอบ การตรวจสอบ สอบสวน ด าเนินคดี และลงโทษหากปฏิบัติหน้าที่โดย
มิชอบหรือละเลยข้อก าหนดอื่น ๆ
1.5 อ านาจของรัฐบาลขึ้นอยู่กับการตรวจสอบที่ไม่ใช่ภาครัฐ สื่อมวลชนมีอิสระ องค์กรภาคประชาสังคม พรรคการเมือง และปัจเจกชน มี
อิสระที่จะรายงานและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายของรัฐบาลโดย
ปราศจากความหวาดกลัวว่าจะถูกตอบโต้
1.6 การเปลี่ยนผ่านของอ านาจต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย การเลือกตั้งหรือแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รัฐบาลเป็นไปตามกฎระเบียบที่บัญญัติไว้
ในรัฐธรรมนูญและเมื่อมีการเลือกตั้ง จะต้องมีการวัดความสมบูรณ์ของ
กระบวนการเลือกตั้ง รวมถึงการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ปราศจากการ
คุกคาม และสามารถตรวจสอบผลการเลือกตั้งได้
2. การปลอดจากคอร์รัปชัน 2.1 เจ้าหน้าที่รัฐบาลในฝ่ายบริหารไม่แสวงหาผลประโยชน์จาก ความถี่ของการติดสินบน การจ่ายเงินอย่างไม่เป็นทางการ และแรงจูงใจอื่น
(Absence of Corruption) หน้าที่การงานเพื่อประโยชน์ส่วนตัว ในการให้บริการสาธารณะ และการบังคับใช้กฎระเบียบ นอกจากนี้ยังวัดว่า
การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐบาล มีกระบวนการประมูลที่เปิดกว้าง มีความ
โปร่งใส และมีการแข่งขัน ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่รัฐบาลในระดับใดเพื่อให้
ปราศจากการยักยอกงบประมาณของรัฐ