Page 257 - 22825_Fulltext
P. 257
6-14
ตารางที่ 6.6 สรุปผล P2 ความปลอดภัยและความมั่นคงในสังคม เปรียบเทียบ ปี พ.ศ. 2562 และ
ปี พ.ศ. 2564
คะแนนดัชนี ระดับคะแนน
P2. ความปลอดภัยและความมั่นคงในสังคม
2562 2564 2562 2564
P2.1 จำนวนของการฆาตกรรม (ต่อแสนคน) 0.11 0.09 3.86 4.12
[1]
P2.2 จำนวนของประชากรในเรือนจำ (ต่อแสนคน) 1.00 0.88 1.00 1.47
[1]
P2.3 จำนวนเจ้าหน้าที่ตำรวจ (ต่อแสนคน) 0.40 0.39 3.39 3.43
[1]
P2.4 จำนวนคดีเพศและทำร้ายร่างกาย 0.53 0.28 3.91 4.46
P2.5 มุมมองต่อความรู้สึกปลอดภัย/ความหวาดกลัว
[2] 0.55 0.36 2.96 2.47
P2.6 จำนวนเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัว
[1]
(ต่อแสนคน) 0.65 0.70 3.05 2.41
[1]
P2.7 อัตราการฆ่าตัวตาย 0.50 0.48 2.98 3.04
P2.8 สัดส่วนงบประมาณที่ใช้ใน
1]
การพัฒนากับการจัดซื้ออาวุธ] 0.49 0.39 4.05 4.26
P2.9 จำนวนคดีที่เกี่ยวข้องกับ
[1]
ยาเสพติด 0.63 0.53 3.83 3.97
รวม - - 3.23 3.29
มายเ ตุ : เกณฑ์การให้คะแนนสันติภาพสันติภาพน้อยที่สุด 1 – 1.80, สันติภาพน้อย 1.81-2.60, สันติภาพปานกลาง 2.61-
3.40, สันติภาพมาก 3.41-4.20, สันติภาพมากที่สุด 4.21 – 5.00
[1] หากค่าดัชนียิ่งเข้าใกล้ 1 แสดงว่าความปลอดภัยและความมั่นคงในสังคมด้านนี้ น้อยลง ส่งผลให้ระดับ
สันติภาพลดลง
[2] หากค่าดัชนียิ่งเข้าใกล้ 1 แสดงว่าความปลอดภัยและความมั่นคงในสังคมด้านนี้ มากขึ้น ส่งผลให้ระดับ
คะแนนสันติภาพเพิ่มขึ้น
ในด้านที่ 2 ความปลอดภัยและความมั่นคงในสังคม ประเมินจากความปลอดภัยและ
ความมั่นคงในสังคม เก็บข้อมูลจากสถิติจากหน่วยงานและจากการสำรวจความเห็นขอบ
ประชาชน ความปลอดภัยและความมั่นคงในสังคมจะเกิดขึ้นสูง ด้วยความรู้สึกปลอดภัย
การไม่มีการฆาตกรรม ไม่มีการทำร้ายในครอบครัว ไม่มีการทำร้ายร่างกายหรือมีไม่มากนัก
ประชากรในเรือนจำก็จะมีน้อย รวมถึงจำนวนเจ้าหน้าที่ตำรวจก็จะมีน้อยในการรักษาความ
สงบเรียบร้อย ตัวชี้วัดที่พึงเฝ้าระวังคือ จำนวนของประชากรในเรือนจำที่ยังมีสูง ได้คะแนน
น้อย อีกทั้ง มุมมองต่อความรู้สึกปลอดภัย/ความหวาดกลัวที่ได้คะแนนน้อยลงในปี 2564 จาก
คำถาม 13 คำถามที่จัดเก็บโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับสถาบันพระปกเกล้า และ