Page 197 - 22825_Fulltext
P. 197
4-52
ดัชนีตัวชี้วัดสันติภาพ ระดับคะแนนสันติภาพ
P2.7 อัตราการฆ่าตัวตาย 3.04
P4.3 การเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐาน 2.84
P3.4 มุมมองต่อเสรีภาพของสื่อมวลชน 2.76
P4.10 สัดส่วนแพทย์พยาบาลต่อประชากร 2.70
P3.3 มุมมองต่อเสรีภาพในการแสดงออกทางการเมือง 2.54
P4.2 ความเหลื่อมล้้าด้านรายได้ 2.51
P1.1 มุมมองต่อระดับความรุนแรงในประเทศ 2.48
P 2.5 มุมมองต่อความรู้สึกปลอดภัย/ความหวาดกลัว 2.47
P2.6 จ้านวนเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัว (ต่อแสนคน) 2.41
P4.1 มุมมองต่อความเหลื่อมล้้าในสังคม 2.30
P3.1 มุมมองต่อการยอมรับให้บุคคลที่มีลักษณะแตกต่างจากคนทั่วไปมีบทบาททาง
1.86
สังคมและการเมือง
P2.2 จ้านวนของประชากรในเรือนจ้า (ต่อแสนคน) 1.47
จากตารางที่ 4.120 จากผลการศึกษา พบว่า ระดับดัชนีสันติภาพของประเทศไทยปี พ.ศ.
2564 มากที่สุด 3 อันดับแรก คือ P3.7 จ้านวนกรณีที่มีการสังหาร การลักพา ท้าให้สูญหาย การกัก
ตัวและทรมานนักข่าวและนักสิทธิมนุษยชน P4.7 การเข้าถึงหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และ P1.3
มุมมองต่อระดับความรุนแรงในครอบครัว ส่วนระดับดัชนีสันติภาพที่น้อยที่สุด คือ P4.1 มุมมองต่อ
ความเหลื่อมล้้าในสังคม P3.1 มุมมองต่อการยอมรับให้บุคคลที่มีลักษณะแตกต่างจากคนทั่วไปมี
บทบาททางสังคมและการเมือง และP2.2 จ้านวนของประชากรในเรือนจ้า (ต่อแสนคน)