Page 172 - 22825_Fulltext
P. 172
4-27
ตารางที่ 4.55 ผลการค้านวณดัชนีมุมมองต่อการยอมรับให้บุคคลที่มีลักษณะแตกต่างจากคนทั่วไปมี
บทบาททางสังคมและการเมือง
ระดับ ค่าดัชนี รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน
2 0.06101 – 0.45438 ค่าดัชนีที่ค้านวณมีค่าอยู่ในช่วง Percentile 20 – 40
จากข้อมูลการส้ารวจความคิดเห็นของประชาชนโดยสถาบันพระปกเกล้าร่วมกับส้านักงานสถิติ
แห่งชาติ การยอมรับให้บุคคลที่มีลักษณะแตกต่างจากคนทั่วไปมีบทบาททางสังคมและการเมือง พบว่า
มีดัชนีการยอมรับเท่ากับ 0.397 ซึ่งเมื่อจัดระดับตัวชี้วัดสันติภาพอยู่ที่ระดับที่ 1.86 โดยกลุ่มบุคคลที่มีการ
ยอมรับมากที่สุดได้แก่ ผู้หญิง ผู้มีความหลากหลายทางเพศ คนต่างศาสนา ตามล้าดับ และกลุ่มที่ไม่ได้รับ
การยอมรับมากที่สุด คือ แรงงานต่างด้าว และพวกยึดถือชาตินิยมสุดโต่ง
P3.2 ตัวชี้วัด มุมมองต่อการเลือกปฏิบัติในการใช้บริการภาครัฐ
ค าอธิบายตัวชี้วัด
การเลือกปฏิบัติในการใช้บริการภาครัฐ เป็นการใช้ค้าถามจากการส้ารวจความคิดเห็นของ
ประชาชนโดยส้านักงานสถิติแห่งชาติ “ในการใช้บริการสาธารณะรัฐ ท่านเคยได้รับการปฏิบัติที่แตกต่าง
กันหรือไม่” (สีผิว, สัญชาติ, ศาสนา, ภาษา, ความเป็นกลุ่มชาติพันธุ์, อายุ, เพศ, ความทุพพลภาพ,
รูปลักษณ์ภายนอก, ระดับการศึกษา, สถานะทางเศรษฐกิจ/การเงิน, ประวัติทางการแพทย์ (เช่น เอดส์
จิตเวช ฯลฯ), สถานะทางการงาน, จุดยืนทางอุดมการณ์หรือการเมือง) แล้วน้ามาคิดคะแนนรวมกัน
ตารางที่ 4.56 เกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัดมุมมองต่อการเลือกปฏิบัติในการใช้บริการภาครัฐ
ระดับ รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน
1 ไม่เคย
2 เคย
แหล่งข้อมูล: สถาบันพระปกเกล้า เก็บข้อมูลโดยสถาบันพระปกเกล้าร่วมกับส้านักงานสถิติแห่งชาติ
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล: วันที่ 1- 30 เมษายน พ.ศ. 2564
ตารางที่ 4.57 ข้อมูลที่ใช้ในการค้านวณมุมมองต่อการเลือกปฏิบัติในการใช้บริการภาครัฐระหว่าง
ปี 2562 กับปี 2564
ตัวชี้วัด 2562 2563 [1] 2564
ค่าเฉลี่ยมุมมองต่อการเลือกปฏิบัติในการใช้บริการภาครัฐ 6.46% - 6.72%
(0.375) (0.337)
หมายเหตุ: ( ) ค่าดัชนี
ในปี 2563 ไม่มีการส้ารวจข้อมูล
[1]