Page 176 - 22825_Fulltext
P. 176
4-31
P3.5 ตัวชี้วัด มุมมองด้านพหุวัฒนธรรม (ความหลากหลายทางศาสนา)
ค าอธิบายตัวชี้วัด
พหุวัฒนธรรม (ความหลากหลายทางศาสนา) เป็นการใช้ค้าถามจากการส้ารวจความคิดเห็น
ของประชาชนโดยส้านักงานสถิติแห่งชาติ “ท่านยอมรับให้มีการตั้งศาสนสถานของศาสนาอื่นในชุมชน
ของท่าน” ระดับ 1-4 (จากคะแนนน้อยไปมาก)
ตารางที่ 4.68 เกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัดมุมมองด้านพหุวัฒนธรรม (ความหลากหลายทางศาสนา)
ระดับ รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน
1 ไม่เห็นด้วยเลย
2 ไม่ค่อยเห็นด้วย
3 ค่อนข้างเห็นด้วย
4 เห็นด้วยอย่างยิ่ง
แหล่งข้อมูล: สถาบันพระปกเกล้า เก็บข้อมูลโดยสถาบันพระปกเกล้าร่วมกับส้านักงานสถิติแห่งชาติ
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล: วันที่ 1- 19 เมษายน พ.ศ. 2564
ตารางที่ 4.69 ข้อมูลที่ใช้ในการค้านวณมุมมองด้านพหุวัฒนธรรม (ความหลากหลายทางศาสนา)
ระหว่างปี 2562 กับปี 2564
[1]
ตัวชี้วัด 2562 2563 2564
มุมมองด้านพหุวัฒนธรรม (ความหลากหลายทางศาสนา) 2.356 - 2.377
(0.552) (0.496)
หมายเหตุ: ( ) ค่าดัชนี
[1] ในปี 2563 ไม่มีการส้ารวจข้อมูล
ผลการค านวณ
ตารางที่ 4.70 เกณฑ์การให้คะแนนดัชนีด้านพหุวัฒนธรรม (ความหลากหลายทางศาสนา)
ระดับ ค่าดัชนี รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน
1 0.00000 – 0.01003 ค่าดัชนีที่ค้านวณมีค่าอยู่ในช่วง Percentile 0 – 20
2 0.01004 – 0.12769 ค่าดัชนีที่ค้านวณมีค่าอยู่ในช่วง Percentile 20 – 40
3 0.12770 – 0.46612 ค่าดัชนีที่ค้านวณมีค่าอยู่ในช่วง Percentile 40 – 60
4 0.46613 – 0.84298 ค่าดัชนีที่ค้านวณมีค่าอยู่ในช่วง Percentile 60 – 80
5 0.84299 – 1.00000 ค่าดัชนีที่ค้านวณมีค่าอยู่ในช่วง Percentile 80 – 100